สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>
การแลกเปลี่ยนพันธุ์พืช
การแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชระหว่างซีกโลกตะวันตกและตะวันออกนั้น เกิดขึ้นโดยนักสอนศาสนา
พ่อค้า และการเป็นเมืองขึ้นหรืออาณานิคมของประเทศในทวีปยุโรป ได้แก่ อังกฤษ
ฝรั่งเศส สเปน โปรตุเกส ฮอลันดา และ อิตาลี
ในเขตอบอุ่นและเขตหนาวมีพืชซึ่งมีความหลากหลายทางพันธุกรรมน้อยกว่า
เขตร้อนชื้นของทวีปเอเชีย แอฟริกา และอเมริกา
นอกจากนี้การติดต่อค้าขายกับจีนมาเป็นเวลานานทำให้มีการนำพันธุ์พืชผักหลายชนิดจากจีนเข้ามาปลูกในประเทศไทยด้วย
เช่น คะน้า กะหล่ำปลี กวางตุ้ง ผักกาดหัว ปวยเหล็ง
ภาพคะน้าเป็นผักที่นำเมล็ดพันธุ์จากประเทศจีนมาปลูกในประเทศไทย (สุรชัย, 2535)
ภาพผักชนิดต่างๆ ที่นำพันธุ์จากยุโรปและสหรัฐอเมริกาเข้ามาปลูกในประเทศไทย
(บริษัท อีสท์ เวสท์ ซีด จำกัด, 2548)
พืชสวนครัว
การแลกเปลี่ยนพันธุ์พืช
แหล่งผลิตผักที่สำคัญของประเทศไทย
ผักเศรษฐกิจของประเทศไทย
พริก
กระเทียม
หอมแดง
แตงกวา
ข้าวโพดฝักอ่อน
ถั่วฝักยาว
คะน้า
กะหล่ำปลี
มะเขือเทศ
ฟักทอง
ผักกาดขาวกวางตุ้ง,ผักกาดฮ่องเต้
ผักกาดเขียวกวางตุ้ง
ผักกาดเขียวปลี
ผักบุ้งจีน
ผักกาดหัว
หอมหัวใหญ่
ผักกาดหอม
กะหล่ำดอก
ฟัก, แฟง
มะระ
บวบ
ถั่วลันเตา
หน่อไม้ฝรั่ง
กระเจี๊ยบเขียว
ผักกาดขาวปลี
หน่อไม้ไผ่ตง
มะเขือยาว
ถั่วแระญี่ปุ่นหรือถั่วเหลืองฝักสด
เอกสารและสิ่งอ้างอิง