ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

การออกแบบเครื่องประดับแบบคัทสติล เป็นการออกแบบที่นิยมในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 18 เทคนิคการเจียระไนโลหะนี้พบครั้งแรกที่ Woodstock ประเทศอังกฤษในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 แต่มาเป็นที่แพร่หลายในเมืองลอนดอน เมืองเบอร์มิงแฮม เมืองวูลเวอร์แฮมตัน และเมืองซาลิสเบอร์รี่ ในช่วงยุค 1760 เครื่องประดับชนิดนี้เป็นสินค้าส่งออกของอังกฤษอย่างหนึ่งก่อนที่จะถึงช่วงเหตุการณ์ปฏิวัติในประเทศฝรั่งเศส ต่อจากนั้นจึงกลายเป็นเครื่องประดับที่แพร่หลายในยุโรปอย่างรวดเร็ว

ในช่วงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีการนำเครื่องประดับมาตกแต่งเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการแบ่งชนชั้น หรือระดับของสังคมของผู้สวมใส่ เพราะเป็นนโยบายมาตั้งแต่เกิดการปฏิวัติในประเทศฝรั่งเศสว่าทุกคนต้องเคร่งครัดต่อกฎเกณฑ์ของรัฐบาล โดยออกกฎเกณฑ์ให้เครื่องประดับส่วนใหญ่มีรูปแบบตามรสนิยมของพวกขุนนางเป็นหลัก จึงทำให้การออกแบบไม่เป็นที่หลากหลายมากนัก แต่ได้เกิดวิทยาการใหม่ๆ ในการผลิต โดยเฉพาะการเจียระไนโลหะ เป็นที่รู้จักกันดีในเมืองปารีส จนกระทั่งปารีสได้กลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าเพื่อประดับประเภทนี้

ผลทางด้านการออกแบบเครื่องประดับแบบคัทสติลนี้ เพื่อเน้นการเปล่งประกายให้ชัดเจนแสงเฉียบคม สามารถทดแทนอัญมณีที่หายากมากขึ้นในคริสต์ศตวรรษนี้ได้เป็นอย่างดี การเจียระไนโลหะจึงเป็นผลงานที่สร้างสรรค์ได้ยาก เนื่องจากการเจียระไนต้องเป็นผู้ที่ชำนาญทางด้านเจียระไนและใช้เครื่องจักรที่พิเศษ มีการระมัดระวังในการผลิตเป็นอย่างดี แต่ผลงานเครื่องประดับแบบคัทสติลนี้เป็นเครื่องประดับที่มีความคงทน สวยงามอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นที่นิยมในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เพราะสามารถเจียระไนได้ดีเหมือนกับการเจียระไนเพชรและมีประกายที่ผิวหน้า ต่อมาได้เกิดมากาไซท์ (Marcastie) ทำมาจาก iron pyrties บางทีเรียกว่า Fool’s Gold ซึ่งเป็นการเจียระไนโลหะให้เหมือนกับเจียระไนอัญมณีเพื่อสามารถฝังได้เหมือนกับการฝังอัญมณี

ทางด้านนักออกแบบเครื่องประดับแบบเจียระไนโลหะที่มีชื่อเสียงในช่วงนี้คือนาย Matthew Boulton เป็นนักออกแบบชาวอังกฤษที่นำการเจียระไนโลหะมาออกแบบเครื่องประดับหลายรูปแบบได้อย่างสวยงามในระบบอุตสาหกรรม ซึ่งมีความเป็นมาดังนี้

นักออกแบบเครื่องประดับแบบคัทสติลชื่อ Matthew Boulton
Matthew Boulton เกิดเมื่อปี ค.ศ.1728-1809 เดิมธุรกิจของบิดาคือ โรงงานผลิตตุ๊กตาซึ่งเป็นโรงงานที่ใหญ่ที่สุดในเมืองเบอร์มิงแฮม ต่อมาเมื่อากรเจียระไนโลหะได้รับความนิยมมากจึงได้ทดลองผลิตเป็นเครื่องประดับ ซึ่งได้รับความนิยมและประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีนอกจากนี้โรงงานยังได้ผลิตเป็นมากาไซท์ มีการลงยา ต่อมากลายเป็นเครื่องประดับของชนชั้นสูงที่เข้าชุดกัน เช่น สร้อยคอ แหวน กำไล ต่างหู แชทเทิลเลนประดับตกแต่ง เป็นต้น ทำให้การเจียระไนโลหะเป็นกระบวนการผลิตเครื่องประดับที่สวยงาม ราคาแพงได้ ต่อมาได้เป็นเครื่องประดับสำหรับสุภาพบุรุษ และสามารถผลิตเครื่องประดับประเภทนี้ให้กับนักออกแบบเครื่องประดับคนอื่นๆ ต่อไป

» ลักษณะต้นแบบโบราณ

» ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ

» ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่

» ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ

» ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)

» ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง

» ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่

» ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

» ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)

» ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)

» ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)

» ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)

» ยุค Princes

» ยุควัฒนธรรม La Tene

» ยุคขยายอาณาจักร

» ยุคอิทธิพลของนักรบ

» ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)

» ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

» ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

» ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)

» นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini

» การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1

» ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

» การประดิษฐ์ตกแต่ง

» ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค

» ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค

» ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

» ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19

» ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany

» ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930

» นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940

» บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990

» ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย