ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

นักออกแบบเครื่องประดับที่มีชื่อเสียงมากอีกคนหนึ่งคือนาย Carlo Giuliano ได้ออกแบบเครื่องประดับแนวอนุรักษ์นิยมจนเป็นที่รู้จักกันดี จนใน ปี ค.ศ.1861 ได้มีโอกาสเข้ามาบรรยายที่สถาบัน Archaeological Institute ทำให้ได้รู้จักกับนาย Alessandro Castellani ทำให้นาย Castellani จึงได้มีส่วนร่วมกับธุรกิจของ Giuliano ในกรุงลอนดอน และในปี ค.ศ.1862 Castellani มีนิทรรศการที่มาจากบริษัทที่กรุงลอนดอนและโรม จากจุดเล็กๆ นี้ได้กลายมาเป็นเครือข่ายต่อมาได้เกิดสัญลักษณ์ G ของ Giuliano ได้สร้างผลงานที่มีชื่อเสียงมากมายทั้งที่อิตาลีและต่างประเทศโดยเฉพาะกลุ่มชนชั้นสูงและนักธุรกิจ เขาสร้างผลงานโดยได้รับแรงบันดาลใจจากประวัติศาสตร์และของมีค่าของเหล่าราชวงศ์

นาย Carlo Giuliano ตายในปี ค.ศ.1895 มีบุตรชายสองคนคือ นาย Arthur และนาย Alphonse ดำเนินธุรกิจต่อไป แต่ทุกอย่างดังกล่าวมาสิ้นสุดที่ปี ค.ศ.1910 ถึงแม้ว่าครอบครัวของ Giuliano จะได้พยายามดำเนินกิจการเครื่องประดับต่อหลังจากปี ค.ศ.1910 แต่สุดท้ายกิจการทุกอย่างได้สิ้นสุดอีกครั้ง

ในช่วงศิลปะการออกแบบเครื่องประดับในยุคนี้ มีนักออกแบบที่มีชื่อเสียงหลายคน และนักออกแบบเครื่องประดับที่มีความโดดเด่นมากในยุคนี้อีกเช่นกันคือ นาย Peter Carl Faberge นอกจากเป็นนักออกแบบเครื่องประดับแล้วยังเป็นช่างทองหลวงแห่งประเทศรัสเซียอีกด้วย โดยผลงานเครื่องประดับของ Faberge เป็นที่โดดเด่นและมีเอกลักษณ์เป็นของตนเองเป็นอย่างยิ่ง

» ลักษณะต้นแบบโบราณ

» ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ

» ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่

» ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ

» ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)

» ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง

» ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่

» ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

» ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)

» ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)

» ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)

» ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)

» ยุค Princes

» ยุควัฒนธรรม La Tene

» ยุคขยายอาณาจักร

» ยุคอิทธิพลของนักรบ

» ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)

» ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

» ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

» ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)

» นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini

» การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1

» ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

» การประดิษฐ์ตกแต่ง

» ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค

» ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค

» ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

» ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19

» ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany

» ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930

» นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940

» บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990

» ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย