ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

ต่อมาไม่ไกลจากอาณาจักรอียิปต์มากนัก ได้มีอีกดินแดนหนึ่งที่มีความเจริญเท่าเทียมกัน คือ อาณาจักรเมโสโปเตเมีย ซึ่งอยู่แถบแม่น้ำไทกริส ยูเฟรติส อยู่ในช่วง 4,000-333 ปีก่อนคริสตศักราช มีมนุษย์อาศัยอยู่หลายหลากชนชาติ เช่น บริเวณคาบสมุทรเปอร์เซีย มีชาวสุเมเรียนอาศัยอยู่ในอาณาจักรนี้ และมีเมืองบาบิโลนเป็นเมืองหลวง หลังจากที่ชาว อะมอรีตได้ชัยชนะชาวสุเมเรียนกับชาวอัคคัด โดยมีกษัตริย์ฮัมมูราบีเป็นประมุข ช่วง 1792-1750 ปีก่อนคริสตศักราช หลังจากนี้ดินแดนแห่งนี้มีแต่การรบพุ่ง จนกระทั้งถึง 1,000 ปีก่อนคริสตศักราช ชาวอัสซีเรียนได้ยึดดินแดนแห่งนี้ แต่เมื่อถึง 612 ปีก่อนคริสตศักราช ชาวซาดีนแห่งบาบิโลนได้ยึดเมืองนิเนเวของอัสซีเรียนได้ ทำให้ทั้งบาบิโลนและอัสซีเรียนอยู่ภายใต้ชาวซาดีนเมื่อถึง 539 ปีก่อนคริสตศักราช ทั้งหมดนี้จึงตกอยู่ภายใต้ชาวเปอร์เซียทั้งหมด โดยมีซีรุสเป็นผู้ครองนคร

ผลงานทางด้านเครื่องประดับของเมโสโปเตเมียนั้น มีความงดงามที่น่าสนใจ โดยเฉพาะในช่วงระหว่าง 2,700 และ 2,300 ปีก่อนคริสตศักราช สิ่งของมีค่าที่ขุดค้นพบที่สุสานราชวงศ์กษัตริย์ที่เมืองเออร์นั้นเป็นที่รู้จักกันดี โดยเฉพาะพระราชินี Pu-abi มีเครื่องประดับที่เป็นใบไม้ดอกไม้ ซึ่งเป็นงานออกแบบเพื่อการตกแต่งที่สวยงาม เป็นผลงานที่มีความประณีตสูง มีการทำแผ่นทอง ดุนลาย และสร้างลวดลายได้อย่างละเอียด โดยมากผลิตเครื่องประดับของเมโสโปเตเมียนิยมใช้เทคนิคการเคาะทุบด้วยค้อนในการขึ้นรูปทรง และการใช้ตะปูหัวแบบต่างๆ มาตกแต่งรายละเอียด จึงทำให้ผลงานเครื่องประดับของเมโสโปเตเมียมีความงดงาม

ส่วนการร้อยเครื่องประดับในเมโสโปเตเมียปรากฏเมื่อประมาณ 2,500 ปีก่อนคริสตศักราช โดยราชวงศ์ชาวสุเมเรี่ยน ที่เมืองเออร์ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของเมโสโปเตเมียในสมัยสมเด็จพระราชินี Pu-abi อีกเช่นกัน โดยมีการจ้างช่างฝีมือ มีการทำเทคนิคของช่างทอง มีการทำลูกปัดเป็นรูปแตงโม มีเทคนิคการผลิตเครื่องประดับเป็นแบบเฉพาะของชาวสุเมเรี่ยน ถึงแม้ว่าการใช้ทองคำเป็นรูปแบบที่ปรากฏหลังจากนั้นก็ตาม เครื่องปะดับของชาวเมโสโปเตเมียได้มีความงดงามมากขึ้น ผลงานการร้อยลูกปัดเป็นเครื่องประดับของชาวสุเมเรี่ยนนั้น ส่วนใหญ่ปรากฏวัสดุ 5 ชนิด ด้วยกัน ได้แก่ คาร์เนลเลี่ยน ลาปิสลาซูลี่ อาเกท ทองคำและโลหะเงิน เนื่องจากเป็นวัสดุที่ใช้ในการควบคุมการออกแบบการใช้สีและเพื่อตามความเชื่อเกี่ยวกับพละกำลัง จึงนิยมมาสวมใส่เฉพาะโอกาสสำคัญ นอกจากนี้ช่างฝีมือชาวสุเมเรี่ยนยังมีความชำนาญในการเจียระไนอัญมณี จึงปรากฏรูปทรงอัญมณีรูปแบบต่างๆ อย่างสวยงาม

» ลักษณะต้นแบบโบราณ

» ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ

» ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่

» ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ

» ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)

» ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง

» ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่

» ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

» ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)

» ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)

» ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)

» ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)

» ยุค Princes

» ยุควัฒนธรรม La Tene

» ยุคขยายอาณาจักร

» ยุคอิทธิพลของนักรบ

» ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)

» ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

» ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

» ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)

» นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini

» การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1

» ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

» การประดิษฐ์ตกแต่ง

» ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค

» ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค

» ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

» ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19

» ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany

» ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930

» นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940

» บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990

» ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย