ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

ซึ่งบริษัท Cartier ในยุโรปและเทศสหรัฐอเมริกาทำสัญญาทางการค้าทางด้านการผลิตเครื่องประดับกับนักออกแบบเครื่องประดับ โดยมีข้าราชการชั้นสูงสนับสนุน และทำการพัฒนาอุตสาหกรรมแนวใหม่เพื่อยกระดับคนชนชั้นกลาง ในปียุค 1940 ประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่งไม่ว่าจะเป็นการฝังหินแนวใหม่ การออกแบบที่สูญเสียน้อยที่สุด โดยไม่ให้เกิดมลพิษ และทักษะในการผลิตที่ฝึกให้มีความชำนาญ และสุดท้ายต้องศึกษาทางด้านการค้า โดยเฉพาะการค้าระหว่างประเทศ จึงทำให้ Cartier เป็นนักออกแบบทางด้านเครื่องประดับของโลก ถึงแม้ว่านักออกแบบเครื่องประดับจะหายไปบ้างในช่วงสงครามโลก แต่ Cartier ก็สามารถครองใจตลาดได้อย่างชาญฉลาดและมีคุณภาพที่มาตรฐาน ครอบครัว Cartier มีบุตรชาย 3 คน ได้แก่ นาย Louis Cartier นาย Pierre Cartier และนาย Jacques Cartier ทั้งสามคนทำให้กิจการ Cartier ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยออกแบบได้ตามแฟชั่น ตามแนวโน้มรสนิยมของโลก และสนุกกับการเป็นต้นแบบแฟชั่นทางด้านเครื่องประดับ

เครื่องประดับของ Cartier มักมีแรงบันดาลใจมาจากประวัติศาสตร์ ชอบสร้างผลงานที่เป็นเพชร เพื่อตอบสนองของคนชั้นกลาง โดยการใช้เพชรของบริษัท De Beers ทำให้ Cartier ผลิตผลงานเครื่องประดับที่มีการตกแต่งด้วยวัสดุมีค่าทั้งหมด

หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ผ่านไป สังคมได้นิยมในการสูบบุหรี่ ส่วนผู้หญิงได้มีการแต่งหน้าในยุคนี้ และมีการตกแต่งเครื่องประดับเท่าที่จำเป็น จัดเป็นการแต่งกายที่มีรูปแบบใหม่ รวมทั้งเครื่องประดับในยุคนี้จึงได้เปลี่ยนรูปแบบใหม่ด้วยเช่นกัน ส่วนการออกแบบของ Cartier ได้มีรูปแบบใหม่ด้วยเช่นกัน และผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองบทบาทใหม่ของผู้หญิงได้เป็นอย่างดี เช่น ผลิตกล่องใส่บุหรี่ มีดตัดบุหรี่ หวี แปรง โต๊ะ สิ่งเหล่านี้ได้ประสอบความสำเร็จเป็นอย่างมากและสิ่งของเหล่านี้มีตัวย่อว่า s โดยเป็นสิ่งของที่เน้นประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก

เมื่อมาถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวยุโรปต่างได้หยุดการบริโภคเครื่องประดับของชนชั้นสูง และถือเป็นการสิ้นสุดศิลปะรูปแบบอาร์ตเดโคด้วย ในช่วงนี้หลายกิจการต้องหยุดชะงักลง รวมทั้งเครื่องประดับของ Cartier ที่ไม่ปรากฏเครื่องประดับเพื่อขายในระดับนานาชาติช่วงนี้

ในปี ค.ศ.1973 Cartier ได้เปลี่ยนรูปแบบโดยทำการผลิตแบบมวลรวมแบบชัดเจน โดยออกในนามของ Les Must de Cartier เพื่อที่จะขายออกไปได้ทั่วโลกอย่างมาตรฐานเดียวกัน จึงทำให้เครื่องประดับของ Cartier มีคุณภาพและยังเป็นที่ต้องการมาจนถึงปัจจุบัน

» ลักษณะต้นแบบโบราณ

» ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ

» ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่

» ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ

» ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)

» ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง

» ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่

» ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

» ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)

» ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)

» ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)

» ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)

» ยุค Princes

» ยุควัฒนธรรม La Tene

» ยุคขยายอาณาจักร

» ยุคอิทธิพลของนักรบ

» ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)

» ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

» ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

» ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)

» นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini

» การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1

» ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

» การประดิษฐ์ตกแต่ง

» ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค

» ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค

» ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

» ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19

» ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany

» ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930

» นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940

» บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990

» ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย