ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

ศิลปะเครื่องประดับแบบคาเมโอนั้น อยู่ในช่วงศตวรรษที่ 18 มาจากความเคารพต่อพระมหากษัตริย์ มีการใช้อิทรียวัตถุในการออกแบบเครื่องประดับมากกว่าการใช้หินหรืออัญมณีโดยเฉพาะวัสดุที่ทำมาจากเปลือกหอยได้รับความนิยมมาก เพราะนักออกแบบเครื่องประดับในยุคนี้ให้ความสำคัญต่อการใช้วัสดุมาก โดยเฉพาะหมู่ชนชั้นสูง และมีการใส่ความรู้สึกทางด้านการรื่นเริงบันเทิงใจ ความสวยงาม การมีความสุข ลงไปในผลงานเครื่องประดับอยู่เสมอ จึงเป็นผลงานที่นักออกแบบนิยมนำมาเป็นแรงบันดาลใจ นอกจากเป็นเอกลักษณ์เฉพาะแล้วยังมีความหมายและความรู้สึกที่ดีอีกด้วย

ลักษณะการออกแบบนิยมนำความสวยงามของธรรมชาติมาเป็นแกนหลัก เครื่องประดับดูอ่อนหวาน เนื่องจากนิยมใช้สีชนพูและสีขาวมาเป็นหลัก โดยมีการออกแบบเป็นชุด โดยเครื่องประดับสุภาพสตรีได้ออกแบบแหวน สร้อยคอ ต่างหู และกำไล แต่เครื่องประดับของสุภาพบุรุษส่วนใหญ่เป็นแหวนกับเข็มกลัด การออกแบบมีการใช้เส้นที่ไหลไปอย่างกลมกลืน มีรายละเอียดภายในเส้นที่สวยงาม มีเส้นคนชัดเจน แสดงการตัดกันของพื้นหลังกับภาพเบื้องหน้าทำให้รูปแกะสลักเบื้องหน้าเป็นแสงสว่าง เห็นรูปทรงที่ชัดเจน ซึ่งการแกะสลักส่วนใหญ่ยังคงนำรูปแบบการแกะสลักแบบกรีกและโรมันมาเป็นแกนหลัก ส่วนวัสดุที่ใช้ทำเครื่องประดับเป็นอัญมณีกึ่งมีค่าเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ อาเกท คอร์เนลเลี่ยน ปะการัง ลาวา และนิล เป็นต้น ต่อมาในช่วงหลังนิยมและสลักด้วยเปลือกหอย

» ลักษณะต้นแบบโบราณ

» ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ

» ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่

» ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ

» ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)

» ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง

» ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่

» ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

» ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)

» ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)

» ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)

» ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)

» ยุค Princes

» ยุควัฒนธรรม La Tene

» ยุคขยายอาณาจักร

» ยุคอิทธิพลของนักรบ

» ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)

» ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

» ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

» ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)

» นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini

» การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1

» ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

» การประดิษฐ์ตกแต่ง

» ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค

» ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค

» ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

» ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19

» ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany

» ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930

» นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940

» บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990

» ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย