ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

ประวัติศาสตร์ศิลป์

ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

หลังจากที่เครื่องประดับในช่วงยุคกลางมีลักษณะการออกแบบตามความเชื่อและศรัทธาเป็นอันมากนี้ ได้รับการตื่นตัวอีกครั้งในช่วงสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในช่วงต้นของศิลปะแบบเรอนาซองค์มีการค้าขายเครื่องประดับกันอย่างคับคั่ง ประเทศยุโรปที่มีบทบาทต่อรูปแบบนี้ คือ ประเทศอิตาลี โดยแบ่งออกเป็นช่วงสมัยคือ

สมัยโรมมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งเป็นช่วงต้นที่สมัยเรอนาซองค์พยายามให้แตกต่างจากความเชื่อทางศาสนา หรือหลีกเลี่ยงการสร้างสรรค์ผลงานที่มาจากศาสนา จึงนำศิลปะของโรมมาเป็นแรงบันดาลในมาสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความงามของศิลปะและเครื่องประดับอีกครั้งหนึ่ง เรียกสมัยนี้ว่า ยุคคลาสสิค

ต่อมาเข้าสู่สมัยที่คำนึงถึงความเป็นมนุษย์มากขึ้น โดยการนำศิลปะของกรุงเอเธนส์กลับมาสร้างสรรค์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง หลังจากนั้นได้ก้าวเข้าสู่ความคิดใหม่ๆ ของมนุษย์มากขึ้น จึงเป็นช่วงที่มีการศึกษาค้นหาแร่ธาตุธรรมชาติจากเหล่าศาสตราจารย์ทางด้านภูมิศาสตร์หลายท่าน ทำให้เครื่องประดับรูปแบบเรอนาซองค์สามารถผลิตได้อย่างสง่างาม ประกอบทั้งนักออกแบบเครื่องประดับในยุคนี้เป็นบุคคลที่ผสมผสานระหว่างช่างทอง จิตรกร และประติมากร ทำให้ความลึกซึ้งและความงดงามในการออกแบบเครื่องประดับมีสูง

การออกแบบเครื่องประดับในสมัยเรอนาซองค์ เรียกยุคนี้อีกอย่างหนึ่งได้ว่า สมัยแห่งธรรมชาติ เนื่องจากนำความคลาสิคของนิยายโบราณมามีอิทธิพลในการออกแบบเครื่องประดับโดยนำรูปแบบของธรรมชาติมาเป็นการสื่อ แสดงถึงความมั่งคั่งและความสวยงามที่หรูหรา จึงได้มีการค้นหากรรมวิธี ทั้งรูปแบบทางธรรมชาติและเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองการออกแบบ จึงได้มีการศึกษาเจียระไนอัญมณีแบบใหม่ ซึ่งแต่เดิมมีแต่การเจียระไนอัญมณีแบบเบี้ยหลังเต่า จึงได้ปรากฏเจียระไนเพชรแบบ table-cuts หรือการเจียระไนแบบเหลี่ยม ซึ่งให้แสงแวววาวได้มากกว่าเดิม จัดเป็นการพัฒนาทางด้านการออกแบบเครื่องประดับอย่างหนึ่ง นอกจากนี้มีการนำหินขนาดใหญ่มาประกอบบนเครื่องประดับด้วยเช่นกัน ซึ่งนิยมนำมาทำเป็นจี้ห้อยคอเป็นส่วนมากยังคงแสดงถึงความมั่งคั่งอีกเช่นกัน

» ลักษณะต้นแบบโบราณ

» ลักษณะการนำต้นแบบมาพัฒนาใหม่ หรือมาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ

» ลักษณะการออกแบบรูปแบบใหม่

» ลักษณะการออกแบบข้ามวัฒนธรรม

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุดก่อนประวัติศาสตร์

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับอารยธรรมโบราณ

» ศิลปะเครื่องประดับอียิปต์ (Egypt)

» ยุค Middle Kingdom หรือยุคอาณาจักรกลาง

» ยุค New Kingdom หรือยุคอาณาจักรใหญ่

» ศิลปะเครื่องประดับเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia)

» ศิลปะเครื่องประดับมิโนอัน - ไมซีเน (Minoan - Mycenae)

» ศิลปะเครื่องประดับกรีก (Greek)

» ศิลปะเครื่องประดับอีทรัสกัน (Etrucan)

» ศิลปะเครื่องประดับเชลติก (Celtic)

» ยุค Princes

» ยุควัฒนธรรม La Tene

» ยุคขยายอาณาจักร

» ยุคอิทธิพลของนักรบ

» ศิลปะเครื่องประดับโรมัน (Rome)

» ศิลปะเครื่องประดับไบแซนไทน์ (Byzantine)

» ประวัติศาสตร์ศิลปะเครื่องประดับตะวันตกยุคประวัติศาสตร์

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงยุคกลาง

» ศิลปะเครื่องประดับโกธิค (Gothic)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยเรอนาซองค์ (Renaissance)

» ศิลปะเครื่องประดับแมนเนอริส (Mannerist)

» นักออกแบบเครื่องประดับ Benvenuto Cellini

» การออกแบบเครื่องประดับเชิงนามธรรม

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยอลิซาเบธที่ 1

» ศิลปะเครื่องประดับบาร็อค (Baroque)

» การประดิษฐ์ตกแต่ง

» ศิลปะเครื่องประดับโรโคโค

» ศิลปะเครื่องประดับนีโอคลาสสิค

» ศิลปะเครื่องประดับคาเมโอ (Cameo)

» ศิลปะเครื่องประดับนโปเลียนกับโจเซฟิน (Napoleon & Josephine)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบคัทสติล (Cut Steel)

» ศิลปะเครื่องประดับแบบแชทเทิลเลน (Chatelaines)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19

» ศิลปะเครื่องประดับอนุรักษ์นิยม

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fortunato Pio Castellani

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อนาย Carlo Giuliano

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Peter Carl Faberge

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Eugene Fontenay

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตนูโว (Art Nouveau)

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Rene Lalique

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Charles Lewis Tiffany

» ศิลปะเครื่องประดับวิคตอเรีย (Victoria)

» ศิลปะเครื่องประดับสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1

» นักออกแบบเครื่องประดับ Fulco di Verdura

» ศิลปะเครื่องประดับอาร์ตเดโค (Art Deco)

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1920

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1930

» นักออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ McClelland Barclay

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1940

» บริษัทที่ออกแบบเครื่องประดับเทียมชื่อ Trifari

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Coro

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Boucher

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Haskell

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Cartier

» บริษัทเครื่องประดับแท้ชื่อ Van Cleep & Arpels

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1950

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Daniel Swarovski

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Eisenberg

» บริษัทเครื่องประดับเทียมชื่อ Hobe

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1960

» นักออกแบบเครื่องประดับชื่อ Bulgari

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1970

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1980

» ศิลปะเครื่องประดับยุค 1990

» ศิลปะเครื่องประดับหลังสมัยใหม่

» ศิลปะเครื่องประดับมินิมอล (Minimalism)

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงศิลปะ

» ศิลปะเครื่องประดับเชิงอุตสาหกรรม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย