วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา >>

กีฏวิทยา

» กีฏวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

» วิวัฒนาการของแมลง

» การเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการของแมลง

» การกำเนิด และวิวัฒนาการของแมลง

» ประโยชน์และโทษของแมลง

» แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน

» ทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคแมลง

» ความเชื่อเกี่ยวกับแมลง

» ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในประเทศไทย

» จำนวนชนิดแมลงในโลก

» การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง

» การอนุรักษ์แมลงในประเทศไทย

» แนวทางการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง

» เอกสารอ้างอิง

แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน

แมลงที่เป็นอาหาร

จิ้งหรีด

เป็นแมลงที่สามารถนำมาบริโภคได้ และมีความปลอดภัย จิ้งหรีดออกหากินเวลากลางคืน พบเห็นตามธรรมชาติทั่วไปจิ้งหรีดสามารถนำมาเลี้ยงขยายพันธุ์ได้ทุกพันธุ์ แต่พันธุ์ที่รู้จักกันแพร่หลายมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ จิ้งหรีดพันธุ์ทองดำ และพันธุ์ทองแดง จิ้งหรีดมีรูปร่างสั้น หัวกลม หนวดยาวเป็นแบบเส้นด้าย ลำตัวสีน้ำตาลค่อนข้างแดง มีปากแบบปากกัด ขาคู่หลังใหญ่และแข็งแรง กระโดดเก่ง ทำเสียงร้องโดยใช้ขอบปีกคู่หน้าสีกัน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในคันนา ทุ่งหญ้า สนามหญ้าและตามรอยแตกของดิน รูใต้ดินหรือใต้กองเศษหญ้า โดยเฉพาะพันธุ์ทองดำนิยมเลี้ยงกันมากเพราะขยายพันธุ์ได้เร็วและเลี้ยงง่าย การนำไปบริโภคเช่นเดียวกับจิโปม


ภาพแสดงลักษณะของจิ้งหรีด
ที่มา : กัณฑ์วีร์ วิวัฒน์พาณิชย์, 2548 : 48

» แมลงกินูน (แมลงอินูน)

» แมลงกุดจี่ (แมลงขี้ครอก ด้วงขี้ควาย)

» กว่างชน (กว่างโซ้ง กว่างกิม กว่างอีลุ่ม)

» แมลงตับเต่า (ด้วงดิ่ง)

» แมลงเหนี่ยง

» แมลงข้าวสาร

» จิ้งโก่ง (จิโปม)

» จิ้งหรีด

» แมลงกระชอน

» ตั๊กแตนปาทังก้า

» ตั๊กแตนอีค่วง (ตั๊กแตนหน้าแหลม)

» แมลงเม่า

» แมลงมัน

» มดแดง

» ผึ้ง

» ต่อ

» ดักแด้ไหม

» หนอนไผ่ (ตัวแน รถไฟ)

» ตัวจรวด (เครื่องบิน)

» แมลงโป้งเป้ง (แมลงงำ)

» จักจั่น

» แมลงดานา

» แมลงดาสวน (แมลงก้าน มวนตะพาบ มวนหลังไข่)

» แมลงแมงป่องน้ำ (แมงคันโซ่)

» แมลงหัววัว

» แมลงทับ

» แมลงแคง

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย