วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา >>
» กีฏวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
» การเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการของแมลง
» การกำเนิด และวิวัฒนาการของแมลง
» แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
» ทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคแมลง
» ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในประเทศไทย
» การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
» แนวทางการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
แมลงที่เป็นอาหาร
แมลงดานา
เป็นมวนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดตัวโตเต็มที่ขนาด 3 นิ้ว เพศผู้เล็กกว่าเพศเมีย
มีลำตัวยาวเป็นรูปไข่ ด้านท้องและหลังแบน หัวสีน้ำตาลแก่ปนเขียว ตาสีดำ
ปีกสีเกือบดำและสีน้ำตาลอ่อน ขาคู่หน้าแบบขาว่ายน้ำมีขนปกคลุม ปากแบบเจาะดูด
อยู่ในน้ำตามนาข้าว หนอง บึง ชอบบินมาเล่นแสงไฟ
จับโดยใช้แสงไฟล่อโดยเฉพาะไฟสีน้ำเงิน ตัวผู้มีกลิ่นฉุน นำมาตำเป็นน้ำพริก แจ่ว
หรือดองน้ำปลารับประทาน ตัวเมียไม่มีกลิ่นรับประทานได้ โดยนำมาปิ้ง ทอด
หรือยัดไส้หมูสับ แล้วนึ่ง หรือทอด
ภาพแสดงลักษณะของแมลงดานา
ที่มา : กัณฑ์วีร์ วิวัฒน์พาณิชย์, 2548 : 28
» แมลงกุดจี่ (แมลงขี้ครอก ด้วงขี้ควาย)
» กว่างชน (กว่างโซ้ง กว่างกิม กว่างอีลุ่ม)
» จิ้งหรีด
» ตั๊กแตนอีค่วง (ตั๊กแตนหน้าแหลม)
» แมลงเม่า
» แมลงมัน
» มดแดง
» ผึ้ง
» ต่อ
» จักจั่น
» แมลงดานา
» แมลงดาสวน (แมลงก้าน มวนตะพาบ มวนหลังไข่)
» แมลงทับ
» แมลงแคง