วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา >>
» กีฏวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
» การเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการของแมลง
» การกำเนิด และวิวัฒนาการของแมลง
» แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
» ทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคแมลง
» ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในประเทศไทย
» การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
» แนวทางการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
แมลงที่เป็นอาหาร
ตั๊กแตนปาทังก้า
มีลักษณะลำตัวเรียว หัวกลม ปากกัด ส่วนบนของหัวมีแถบสีเหลือง และสีน้ำตาลสลับกัน
แถบสีเหลืองกลางหลังพาดยาวไปถึงปลายปีกคู่หน้า ที่ลำตัวมีแถบสีน้ำตาลพาดยาว
หนวดสั้นแบบเส้นด้าย แก้มมีแถบสีดำพาดจากขอบตาด้านล่างยาวไปสุดส่วนล่างของแก้ม
ปีกคู่หน้ามีจุดสีเหลืองอ่อน ขาหลังเป็นหนาม เป็นตั๊กแตนที่มีขนาดใหญ่
เป็นศัตรูสำคัญของพืชหลายชนิด ใช้เป็นอาหารโดยนำมาคั่ว ปิ้ง แกง ผัด
และที่นิยมมากคือนำมาทอดกรอบ
ตั๊กแตนปาทังก้าชอบอยู่เป็นกลุ่มจึงทำความเสียหายแก่พืชมาก
ภาพแสดงลักษณะของตั๊กแตนปาทังก้า
ที่มา : กัณฑ์วีร์ วิวัฒน์พาณิชย์, 2548 : 82
» แมลงกุดจี่ (แมลงขี้ครอก ด้วงขี้ควาย)
» กว่างชน (กว่างโซ้ง กว่างกิม กว่างอีลุ่ม)
» จิ้งหรีด
» ตั๊กแตนอีค่วง (ตั๊กแตนหน้าแหลม)
» แมลงเม่า
» แมลงมัน
» มดแดง
» ผึ้ง
» ต่อ
» จักจั่น
» แมลงดานา
» แมลงดาสวน (แมลงก้าน มวนตะพาบ มวนหลังไข่)
» แมลงทับ
» แมลงแคง