วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา (1)
💠
กำเนิดโลกและสิ่งมีชีวิต
เชื่อกันว่าเอกภพเกิดมาได้ 10,000 ล้านปีแล้ว
ขณะที่โลกเพิ่งเกิดมาเมื่อ 4,600 ล้านปี
โดยเริ่มแรกเกิดปรากฏการณ์ที่ฝุ่นและก๊าซที่เดิมกระจายอยู่ในจักรวาลเกิดมารวมตัวกันเป็นวงก๊าซที่ร้อนจัด
มีความหนาแน่นมหาศาล อุณหภูมิสูงมากประมาณไม่ได้ จึงเกิดระเบิดขึ้นมาเรียกว่า
บิ๊กแบงค์
💠
ชีวิตและพันธุกรรมกำหนดของความเป็นมนุษย์
ในโลกของกลุ่มคริสตัง
ความหมายของชีวิตก็ผูกพันเชื่อมต่ออย่างแนบแน่นระหว่างชีวิต
และวิญญาณแต่เป็นเชิงนัยยะ ไม่ชัดเจน ไปถึงความหมายชีวิตในเชิงสุนทรีย์
ที่ทั้งซับซ้อน ละเอียดอ่อน หลากหลายรุ่มรวย
ด้วยภาษาพรรณนาโวหารของเหล่ากวีและศิลปิน
💠
หุ่นยนต์
การสร้างหุ่นยนต์สร้างตามลักษณะที่ต้องการใช้งาน
หุ่นยนต์แต่ละแบบอาจจะมีความแตกต่างกัน
หุ่นยนต์แต่ละชนิดจะเคลื่อนที่ไปตามโครงสร้างที่เป็นไปตามกฎของฟิสิกส์
คือมีการเคลื่อนไหวตามโครงสร้างที่ออกแบบ
💠
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิตเป็นสาขาหนึ่งในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์
และวิศวกรรมเป็นหลัก
💠
ระบบปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial
Intelligence หรือ AI) คือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้มีพฤติกรรมเหมือนคน
โดยเฉพาะความสามารถในการเรียนรู้และความสามารถทางประสาทสัมผัสซึ่งเลียนแบบการเรียนรู้และการตัดสินใจของมนุษย์
💠
ฟิกสิกส์สมัยใหม่กับปรัชญาศาสนาตะวันออก
ฟิกสิกส์สมัยใหม่
ฟิกสิกส์สมัยใหม่กำเนิดอยู่ในช่วง ค.ศ.20 โดยก่อนหน้านั้น ค.ศ.19
มีปรากฎการณ์ไฟฟ้าและแม่เหล็กที่พบโดยไมเคิลฟาร์เกย์ และเคลิริทแมทว์เวลล์
💠
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
และคาดว่าทำให้เกิดภาวะลมฟ้าอากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น
💠
ดาราศาสตร์กับปัญหาโลกร้อน
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
โลกประสบกับปัญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศมากมาย
ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลก ความคลาดเคลื่อนของฤดูกาล
💠
ประเทศไทยกับภาวะโลกร้อน
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
นับเป็นสาเหตุพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
โดยที่โลกมีระบบควบคุมอุณหภูมิของสภาพบรรยากาศอยู่แล้ว
💠
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่มีต่อเกษตรไทย
สถานการณ์ภาวะโลกร้อนมีแนวโน้มรุนแรงต่อเนื่อง คาดการณ์ปี 2554
จะมีอากาศร้อนมากกว่าปี 2553 เพราะในบางจังหวัดโดยเฉพาะทางภาคเหนือของประเทศไทย
มีอุณหภูมิสูงถึง 43 องศาเซลเซียส
💠
ฟันฉลาม ไขปริศนาภาวะโลกร้อน
ฉลามอยู่บนโลกนี้มาตั้งแต่ยุคก่อนไดโนเสาร์
พวกมันจึงมีเรื่องราวมายมายให้เราได้ศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องราวเกี่ยวกับสภาพอากาศของโลก
💠
สาเหตุการเกิดมลภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เกิดจาก
การเพิ่มขึ้นของก๊าซที่ปกคลุมชั้นบรรยากาศของโลก ทำให้อุณภูมิภายในโลกสูงขึ้น
💠
ฉลากคาร์บอน ทางเลือกใหม่เพื่อลดภาวะโลกร้อนและลดต้นทุนการผลิต
ปัจจุบันองค์การบริหารจัดการกาซเรือนกระจกได้ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
พัฒนาระบบฉลากคาร์บอนกับสินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ
ขึ้นเพื่อสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
💠
80 วิธีลดภาวะโลกร้อน
ลดการใช้พลังงานในบ้านด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์
เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน
💠
10 ข้อ ใกล้ตัวลดโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนเป็นสิ่งที่ทุกคนจะต้องช่วยกันทำ
เราทุกคนก็ต่างมีส่วนที่ทำให้เกิดปัญหานี้ขึ้น
เพราะเพียงแค่เราหายใจอยู่เฉยๆก็ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาแล้ว
💠
โลกร้อน สาเหตุ 10 ปรากฏการณ์ประหลาด
จากภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดปรากฏการณ์ประหลาดทั่วโลก ตัวอย่าง 10
ปรากฏการณ์ประหลาด
💠
สถานการณ์รูรั่วของโอโซน
โอโซนที่ลดลงตลอดฤดูใบไม้ผลิ มากกว่าร้อยละ 40
การสูญเสียโอโซนรุนแรงมากในชั้นสตราโตสเฟียร์ตอนล่าง ระหว่างเดือนกันยายนถึงตุลาคม
เหนือทวีปแอนตาร์กติก ที่ความสูงระหว่าง 13-20 กิโลเมตร
💠
ว่าด้วยเรื่องของกาแฟ
คำว่ากาแฟ เป็นคำที่มาจากคำว่า "เกาะหฺวะหฺ"
ในภาษาอาหรับ ซึ่งสันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากแคว้นคัฟฟาของเอธิโอเปีย
💠
ชา
ชา เป็นพืชที่นำมาทำเป็นเครื่องดื่ม
เป็นที่นิยมบริโภคของคนทั่วโลกเช่นเดียวกับกาแฟและโกโก้
💠
การผลัดเซลล์ผิว
กระบวนการในการผลัดเซลล์ผิว
จะเกิดขึ้นที่บริเวณส่วนบนสุดของผิวหนังกำพร้า
โดยที่เซลล์ผิวชั้นนอกสุดจะเป็นเซลล์ที่มีอายุมากที่สุด
💠
ไขปริศนาฮีเลียมที่หายไป
เป็นเวลาหลายปีที่นักดาราศาสตร์ฟิสิกส์พยายามไขปริศนาระดับเอกภพที่ว่า เอกภพมี He
3 (ฮีเลียมเลขมวล 3 อันประกอบไปด้วยโปรตอน 2 และ นิวตรอน 1) น้อยกว่าปริมาณ He 3
ที่ควรจะมีตามทฤษฎีวิวัฒนาการของดาวฤกษ์
💠
ดาวเรือง
ดาวเรืองมีถิ่นกำเนิดในประเทศเม็กซิโก
ต่อมามีผู้นำเข้าไปปลูกในยุโรป เนื่องจากเป็นไม้ที่ปลูกง่ายเลี้ยงง่าย
อีกทั้งดอกมีความสวยงาม
💠
ป่าเมี่ยง
ป่าเมี่ยง ระบบวนเกษตรดั้งเดิม
ที่บรรพบุรุษของคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตอนเหนือเรียนรู้จากธรรมชาติ
และนำมาปฏิบัติมาช้านาน เป็นระบบเพาะปลูกที่ผสมผสานระหว่างป่าไม้ เกษตร
และเลี้ยงสัตว์
💠
นกยูง
ในบรรดาสัตว์โลกนานาชนิด นกยูงดูจะเป็นสัตว์ที่สร้างความสดใส
รื่นเริงให้โลก และ เต็มไปด้วยชีวิตชีวา มากที่สุด
💠
ปรากฏการณ์จากท้องฟ้า
เมื่อนักดาราศาสตร์พบว่าพายุดาวตกเลโอนิดมีคาบการเกิด
33 ปี ดังนั้นพายุดาวตกครั้งต่อไปก็น่าจะเกิดในปี ค.ศ. 1899
จากการคาดการณ์ดังกล่าวทำให้คนในยุคนั้นต่างพากันรอคอยพายุดาวตกในปี ค.ศ. 1899
อย่างใจจดใจจ่อ
💠
นิยามดาวเคราะห์
นิยามที่แท้จริงของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ก็คือ การเคลื่อนที่
คำว่า ดาวเคราะห์ หรือ Planet มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินตรงกับภาษาอังกฤษว่า
Wander แปลว่า นักท่องเที่ยว
💠
แนวคิดและหลักการทางวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คือ
องค์ความรู้ของธรรมชาติและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้
และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้นั้นอาศัยการสังเกตเป็นพื้นฐาน
💠
ทะเล
ทะเลจีนตะวันออก (East China Sea) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศจีน
ทางทิศเหนือติดกับทะเลเหลือง ทิศตะวันออกติดกับหมู่เกาะโอกินาวา
💠
สวนพฤกษศาสตร์ที่เกิดขึ้นบนพื้นฐานสังคมไทย
การทำสวนพฤกษศาสตร์หรือแม้แต่สวนสัตว์ สำหรับประเทศในเขตร้อน
ควรจะเป็นสถานที่เก็บรวบรวมพันธุ์พืชหรือพันธุ์สัตว์ที่หาได้ยากจากสวนพฤกษศาสตร์ธรรมชาติหรือจากป่าของท้องถิ่น
💠
เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังและการป้องกันกำจัด
ไข่
เพลี้ยแป้งส่วนใหญ่ขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Parthenogenesis)
คือเพศเมียไม่ต้องได้รับการผสมพันธุ์จากเพศผู้ และอาจออกลูกเป็นไข่ (oviparous)
หรือออกลูกเป็นตัว (viviparous)
💠
ลักษณะของเซลล์พืช
เซลล์ที่บริเวณผิวใบของพืชโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นเหลี่ยมมีผนังเซลล์อยู่ภายนอกเยื่อหุ้มเซลล์มีคลอโรพลาสต์
มีแวคิวโอลขนาดใหญ่
💠
มาตรฐานวิธีปฏิบัติสำหรับยาเคมีบำบัด
ทิ้งขวดยาเคมีบำบัดที่ใช้หมดแล้ว
ได้แก่ Vial เปล่า แอมพูลที่หักคอเปิดใช้แล้ว
เข็มที่ใช้แล้วสวมปลอกกลับอย่างเรียบร้อยและกระบอกฉีดยาที่ใช้แล้ว
ลงในกระป๋องพลาสติกขนาด 1,000 มล. ที่ติดป้าย สำหรับขยะเคมีบำบัดเท่านั้น
นำไปกำจัดโดยการเผาต่อไป
💠
พริก (Capsicum spp.)
พริกเป็นเครื่องเทศที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง
และมีความสัมพันธ์ต่อความเป็นอยู่ของชาวไทยเป็นเวลาช้านาน
💠
พืชที่ให้สารกระตุ้น (Stimulated Plants)
พืชที่ให้สารกระตุ้นส่วนใหญ่เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเขตร้อน
มีเพียงไม่กี่ชนิดที่มีถิ่นกำเนิดในเขตกึ่งร้อน
ความหลากหลายของชนิดและพันธุ์พืชที่ให้สารกระตุ้นพบมากทั้งในทวีปเอเชีย แอฟริกา
อเมริกากลางและอเมริกาใต้
💠
ปลาอะราไพม่า หรือ ปลาช่อนอะเมซอน
ปลาอะราไพม่าหรือ Cow fish
(ปลาวัวตัวเมีย) หรือ พิรารูดู Pirarucu (ชื่อพื้นเมืองของชาวบราซิล)และ PAICHE
(ชื่อพื้นเมืองของชาวเปรู)
💠
การเพาะเลี้ยงปลากราย
ปลากราย (Chitala ornata,Haminton)
เป็นปลาน้ำจืดที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ
ประชาชนชอบบริโภคเนื่องจากเนื้อปลากรายมีรสชาติดีสามารถนำมาปรุงอาหารได้
💠
ปลาซิวแคระ
ปลาซิวเป็นปลาตัวจิ๋วที่อยู่ตามแม่น้ำลำคลอง แอ่งน้ำ
และท้องนาตามชนบททั่วไป
มีคนพบเห็นกันบ่อยแต่ไม่เคยสนใจมันมากกว่าปลาชนิดอื่นเพราะมันเป็นปลาตัวเล็ก
💠
นักดาราศาสตร์เตรียมที่จะส่งกล้องส่องทางไกลโดยใช้แสงอินฟราเรดขึ้นไปในอวกาศ
การใช้กัมมันตภาพรังสีอินฟราเรดเจาะทะลุกลุ่มฝุ่นละอองเพื่อเปิดทัศนวิสัย ภารกิจของ
SIRTF ในอวกาศกำหนดไว้เป็นเวลา 5 ปีและใช้งบประมาณเป็นจำนวนเงิน 720
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
💠
เทคนิคทางอณูชีววิทยา
ความรู้ทางด้านอณูชีววิทยาได้ก้าวหน้าไปอย่างมาก
และมีประโยชน์อย่างมากต่อการประยุกต์นำมาใช้ในทางการแพทย์
💠
ชีววิทยาของไรน้ำนางฟ้า
ปัจจุบันอาหารที่ดีมีคุณภาพที่เป็นอาหารมีชีวิตหลักๆ
ได้แก่ ไรแดง อาร์ทีเมีย หนอนขี้หมู เป็นต้น
ไรแดงกับหนอนขี้หมูนั้นสามารถจัดหาและทำการเพาะเลี้ยงได้
ส่วนอาร์ทีเมียนั้นประเทศไทยต้องนำเข้าไข่อาร์ทีเมีย
💠
ชีววิทยาของพะยูน
พะยูน มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น หมูน้ำ วัวทะเล หรือดูก๊อง
จังหวัดภาคใต้เรียกพะยูนว่า ดุหยง
💠
กฎหมายชีวจริยศาสตร์
ในกรณีเกี่ยวกับการวิจัยตัวอ่อนและกลุ่มเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนของมนุษย์
ซึ่งมีการหยิบยกประเด็นขึ้นมานับตั้งแต่มีทารกหลอดแก้วที่เกิดจากความพยายามในการนำความช่วยเหลือทางการแพทย์มาช่วยการเจริญพันธ์
💠
ควายป่า
ควายป่าจัดเป็นสัตว์จำพวกกีบคู่ ( Even - toed Ungulate )
จำพวกเดียวกันกับวัวป่า เท้าทั้ง 4ข้าง มีนิ้วเท้าขนาดใหญ่ข้องละ 2 นิ้ว
เล็บที่ปลายนิ้วพัฒนามาเป็นกีบนิ้วแข็ง
💠
การป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันในฤดูแล้ง
เพราะฤดูแล้งเพลี้ยแป้งจะขยายพันธุ์เพิ่มปริมาณได้อย่างรวดเร็ว
💠
ข้อตกลงโลกร้อนที่เป็นธรรม
ประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลายที่เป็นผู้ปล่อยมลพิษจำนวนมากได้ใช้ พื้นที่ก๊าซคาร์บอน
ส่วนใหญ่ของโลกใบนี้ไปเรียบร้อยแล้ว
ประเทศเหล่านี้ควรจ่ายหนี้คาร์บอนโดยลดการปล่อยก๊าซให้มากที่สุด
💠
สารเคมี (วัตถุเจือปน) ที่ห้ามใช้ในอาหาร
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่
62/24 ,84/27 สามารถเจือปนได้ในอาหารบางชนิด
แต่สารฟอกขาวเป็นสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
💠
ธาตุและสารประกอบ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลหรือระหว่างโมเลกุลด้วยกันเอง
พันธะเคมีสามารถแบ่งได้หลายประเภท
💠
ชีววิทยาของผักตบชวา
ผักตบชวา (อังกฤษ: Water Hyacinth)
เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ
มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำอะเมซอน ประเทศบราซิล
💠
ไวน์
ไวน์ ปกติหมายถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากน้ำองุ่น
แต่ก็อาจใช้กับเครื่องดื่มที่ทำจากน้ำผลไม้อื่น ๆ เช่นกัน
💠
สารเป็คติค (pectic substances)
ส่วนประกอบของผนังเซลล์ของพืช และ middle
lamella (ส่วนที่อยู่ตรงกลางระหว่าง 2 ผนังเซลล์) สารเป็คติคที่พบในส่วน middle
lamella จะทำหน้าที่เป็นสารที่ทำให้เซลล์หลายๆ เซลล์อยู่ติดกัน