สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

» กระเทียม » กระวาน » กระเจี๊ยบแดง » กะทือ » กระชาย » กะเพรา
» กล้วยน้ำว้า » กานพลู » ข่า » ขิง » ขลู่ » ขมิ้น » ขี้เหล็ก » คูน » ชุมเห็ดเทศ
» ชุมเห็ดไทย » ดีปลี » ตำลึง » ตะไคร้ » เทียนบ้าน » ทองพันชั่ง » ทับทิม
» น้อยหน่า » บอระเพ็ด » บัวบก » ปลาไหลเผือก » ฝรั่ง » ผักบุ้งทะเล » เพกา
» พญายอ » พลู » ไพล » ฟักทอง » ฟ้าทลายโจร » มะเกลือ » มะขาม
» มะขามแขก » มะคำดีควาย » มะนาว » มะพร้าว » มะแว้งเครือ » มะแว้งต้น
» มะหาด » มังคุด » ยอ » ย่านาง » เร่ว » เล็บมือนาง » ว่านหางจระเข้
» สะแก » สับปะรด » เสลดพังพอน » สีเสียดเหนือ » หญ้าคา
» หญ้าหนวดแมว » แห้วหมู » อ้อยแดง

กล้วยน้ำว้า

ชื่อท้องถิ่น กล้วยใต้ (ภาคเหนือ)

ลักษณะของพืช พืชล้มลุก ลำต้นสูง ลำต้นที่อยู่เหนือดินรูปร่างกลม มีกาบใบหุ้มซ้อนกัน ใบสีเขียวขนาดใหญ่ ก้านใบยาวและเห็นได้ชัดเจน ดอกออกที่ปลายเป็นช่อ ลักษณะห้อยลงยาว 1 – 2 ศอก เรียกว่า ปลี มีดอกย่อยออกเป็นแผง ผลจะติดกันเป็นแผงเรียกว่า หวี ซ้อนกันหลายหวีเรียกว่า เครือ

ส่วนที่ใช้เป็นยา ลูกดิบ หรือ ลูกห่าม

ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บลูกกล้วยช่วงเปลือกยังเป็นสีเขียว ต้นกล้วยจะให้ผลในช่วงอายุ 8 – 12 เดือน

รสและสรรพคุณยาไทย ลูกดิบ รสฝาด ฤทธิ์ฝาดสมาน

วิธีใช้ กล้วยดิบรักษาอาการท้องเสียที่ไม่รุนแรง โดยใช้กล้วยน้ำว้าห่ามรับประทานครั้งละครึ่งผลถึงหนึ่งผล หรือใช้กล้วยน้ำว้าดิบฝานเป็นแว่นตากแดดให้แห้ง บดเป็นผง ชงน้ำดื่มครั้งละครึ่งผลถึงหนึ่งผลหรือบดเป็นผง ปั้นเป็นยาลูกกลอนรับประทานครั้งละ 4 เม็ด วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอนรับประทานแล้วแล้วอาจมีอาการท้องอืดเฟ้อ ป้องกันได้โดยใช้ร่วมกับยาขับลม เช่น น้ำขิง พริกไทย เป็นต้น

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย