สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

» กระเทียม » กระวาน » กระเจี๊ยบแดง » กะทือ » กระชาย » กะเพรา
» กล้วยน้ำว้า » กานพลู » ข่า » ขิง » ขลู่ » ขมิ้น » ขี้เหล็ก » คูน » ชุมเห็ดเทศ
» ชุมเห็ดไทย » ดีปลี » ตำลึง » ตะไคร้ » เทียนบ้าน » ทองพันชั่ง » ทับทิม
» น้อยหน่า » บอระเพ็ด » บัวบก » ปลาไหลเผือก » ฝรั่ง » ผักบุ้งทะเล » เพกา
» พญายอ » พลู » ไพล » ฟักทอง » ฟ้าทลายโจร » มะเกลือ » มะขาม
» มะขามแขก » มะคำดีควาย » มะนาว » มะพร้าว » มะแว้งเครือ » มะแว้งต้น
» มะหาด » มังคุด » ยอ » ย่านาง » เร่ว » เล็บมือนาง » ว่านหางจระเข้
» สะแก » สับปะรด » เสลดพังพอน » สีเสียดเหนือ » หญ้าคา
» หญ้าหนวดแมว » แห้วหมู » อ้อยแดง

มะเกลือ

ชื่อท้องถิ่น มะเกือ มะเกีย (ภาคเหนือ) , เกลือ (ภาคใต้) , หมักเกลือ (ตราด)

ลักษณะของพืช มะเกลือ เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบรูปไข่รี ปลายแหลม ดอกเป็นช่อใหญ่ประกอบด้วยดอกเล็ก สีเหลืองอมเขียว ผลกลมสีเขียว แก่กลายเป็นสีดำ ยางลูกมะเกลือ ใช้ย้อมผ้าให้เป็นสีดำ

ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลดิบสด (ผลแก่ที่มีสีเขียว ผลสุกสีเหลือง หรือผลสีดำห้ามใช้)

ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา ผลดิบสด

รสและสรรพคุณยาไทย รสเบื่อเมา สรรพคุณ ถ่ายพยาธิตัวตืด และพยาธิไส้เดือนตัวกลม

วิธีใช้ ชาวบ้านรู้จักใช้ลูกมะเกลือพยาธิมานานแล้ว ผลดิบสดของมะเกลือ (ผลแก่ที่มีสีขาว ผลสุกสีเหลือง หรือผลสีดำห้ามใช้) ได้ผลดีสำหรับพยาธิปากขอ และพยาธิเส้นด้าย (พยาธิเข็มหมุด) โดยใช้ผลสดสีเขียวไม่ช้ำไม่ดำจำนวนเท่ากับอายุคนใช้ (1 ปีต่อ 1 ผล) แต่ไม่เกิน 25 ผล (คนไข้ที่มีอายุเกินกว่า 25 ปี ก็ใช้เพียง 25 ผล) นำมาตำโขลกพอแหละแล้วผสมกับหัวกะทิ คั้นเอาแต่น้ำดื่มให้หมดก่อนรับประทานอาหารเช้า ถ้า 3 ชั่วโมง แล้วยังไม่ถ่ายให้ใช้ยาระบาย เช่น ดีเกลือ 2 ช้อนโต๊ะ ละลายน้ำดื่มตามลงไป

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย