สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»
กระเทียม
»
กระวาน
»
กระเจี๊ยบแดง
»
กะทือ
»
กระชาย
»
กะเพรา
»
กล้วยน้ำว้า
»
กานพลู
»
ข่า
»
ขิง
»
ขลู่
»
ขมิ้น
»
ขี้เหล็ก
»
คูน
»
ชุมเห็ดเทศ
»
ชุมเห็ดไทย
»
ดีปลี
»
ตำลึง
»
ตะไคร้
»
เทียนบ้าน
»
ทองพันชั่ง
»
ทับทิม
»
น้อยหน่า
»
บอระเพ็ด
»
บัวบก
»
ปลาไหลเผือก
»
ฝรั่ง
»
ผักบุ้งทะเล
»
เพกา
»
พญายอ
»
พลู
»
ไพล
»
ฟักทอง
»
ฟ้าทลายโจร
»
มะเกลือ
»
มะขาม
»
มะขามแขก
»
มะคำดีควาย
»
มะนาว
»
มะพร้าว
»
มะแว้งเครือ
»
มะแว้งต้น
»
มะหาด
»
มังคุด
»
ยอ
»
ย่านาง
»
เร่ว
»
เล็บมือนาง
» ว่านหางจระเข้
»
สะแก
»
สับปะรด
»
เสลดพังพอน
»
สีเสียดเหนือ
»
หญ้าคา
»
หญ้าหนวดแมว
»
แห้วหมู
»
อ้อยแดง
ว่านหางจระเข้
ชื่อท้องถิ่น ว่านไฟไหม้ (ภาคเหนือ) , ทางตะเจ้ (ภาคกลาง)
ลักษณะของพืช ว่านหางจระเข้เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอัฟริกา เป็นพืชล้มลุก ลำต้นสั้น
ใบจะงอกขึ้นมาจากดินใบหนารูปร่างยาว ปลายแหลม ริมใบหยักและมีหนาม ใบสีเขียวใส และ
มีรอยกระสีขาว ภายในใยมีวุ้นและเมือกมาก ดอกออกจากกลางตัดก็ช่อๆ ก้านดอกยาวมาก
ดอกเป็นหลอด ปลายแยก สีส้มแดงออกสีเหลืองเล็กน้อย
ส่วนที่ใช้เป็นยา วุ้นจากใบ
ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บในช่วงอายุ 1 ปี
รสและสรรพคุณยาไทย รสจืดเย็น โบราณใช้ทาปูนแดงปิดขมับ แก้ปวดศีรษะ
วิธีใช้ วุ้นจากใบรักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
โดยเลือกใบที่อยู่ส่วนในล่างของต้น
เพราะใบใหญ่ได้วุ้นมากกว่าใบเล็กปอกเปลือกสีเขียวออกด้วยมีดที่สะอาดล้างยากให้สะอาดด้วยน้ำต้มสุกหรือน้ำด่างทับทิมขูดเอาวุ้นใสมาพอกบริเวณแผล
ทา 2 ครั้ง เช้า เย็น จนกว่าแผลจะหาย
ช่วยระงับความเจ็บปวดช่วยให้แผลหายเร็วและไม่เกิดแผลเป็น
วุ้นว่านหางจระเข้ยังใช้ทารักษาผิวไหม้ที่เกิดจากแดดเผาได้
ข้อควรระวัง ก่อนใช้ว่าน ทอสอบดูว่าแพ้หรือไม่ โดยเอาวุ้นทาบริเวณท้องแขน
ด้านใน ถ้าผิวไม่คันหรือแดงก็ใช้ได้
»»
หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»»
พืชวัตถุ
»»
สัตว์วัตถุ
»»
ธาตุวัตถุ
»»
ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»»
ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»»
การเก็บยา
»»
ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»»
สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»»
สีผสมอาการจากธรรมชาติ