สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

» กระเทียม » กระวาน » กระเจี๊ยบแดง » กะทือ » กระชาย » กะเพรา
» กล้วยน้ำว้า » กานพลู » ข่า » ขิง » ขลู่ » ขมิ้น » ขี้เหล็ก » คูน » ชุมเห็ดเทศ
» ชุมเห็ดไทย » ดีปลี » ตำลึง » ตะไคร้ » เทียนบ้าน » ทองพันชั่ง » ทับทิม
» น้อยหน่า » บอระเพ็ด » บัวบก » ปลาไหลเผือก » ฝรั่ง » ผักบุ้งทะเล » เพกา
» พญายอ » พลู » ไพล » ฟักทอง » ฟ้าทลายโจร » มะเกลือ » มะขาม
» มะขามแขก » มะคำดีควาย » มะนาว » มะพร้าว » มะแว้งเครือ » มะแว้งต้น
» มะหาด » มังคุด » ยอ » ย่านาง » เร่ว » เล็บมือนาง » ว่านหางจระเข้
» สะแก » สับปะรด » เสลดพังพอน » สีเสียดเหนือ » หญ้าคา
» หญ้าหนวดแมว » แห้วหมู » อ้อยแดง

ฝรั่ง

ชื่อท้องถิ่น มะนั่น, มะก้วยกา (ภาคเหนือ), บักสีดา (ภาคเหนือ), ย่าหมู, ยามู (ใต้), มะปุ่น (สุโขทัย, ตาก), มะแกว (แพร่)

ลักษณะของพืช ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก กิ่งอ่อนเป็นสี่เหลี่ยม ยอดอ่อนมีขนอ่อนสั้นๆ ใบเดี่ยวสีเขียว ออกเป็นคู่ตรงกันข้าม รูปใบรี ปลายใบมนหรือมีติ่งแหลม โคนใบมน ออกดอกเป็น ช่อละ 2 – 3 ดอก ดอกย่อยสีขาวมีเกสตัวผู้มาก เป็นฝอย ผลดิบสีเขียว เมื่อสุกสีเขียวอ่อนปนเหลือง เนื้อในสีขาว มีกลิ่นเฉพาะ มีเมล็ดมาก

ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบแก่สด หรือลูกอ่อน

ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บใบในช่วงแก่เต็มที่ หรือลูกขณะยังอ่อน

รสและสรรพคุณยาไทย รสฝาด ฤทธิ์ฝาดสมาน แก้ท้องเสีย

วิธีใช้ ลูกอ่อนและใบแก่ของฝรั่งแก้ท้องเสีย ท้องเดินได้ผลดีใช้เป็นยาแก้อาหาร ท้องเดินแบบไม่รุนแรงที่ไม่ใช้บิดหรืออหิวาตกโรค โดยใช้ใบแก่ 10 – 15 ใบ ปิ้งไฟแล้วชงน้ำรับประทาน หรือใช้ผลอ่อนๆ 1 ผล ฝนกับน้ำปูนใส รับประทานเมื่อมีอาการท้องเสีย

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย