สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>

การแพทย์แผนโบราณ

เภสัชวัตถุ

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน

» กระเทียม » กระวาน » กระเจี๊ยบแดง » กะทือ » กระชาย » กะเพรา
» กล้วยน้ำว้า » กานพลู » ข่า » ขิง » ขลู่ » ขมิ้น » ขี้เหล็ก » คูน » ชุมเห็ดเทศ
» ชุมเห็ดไทย » ดีปลี » ตำลึง » ตะไคร้ » เทียนบ้าน » ทองพันชั่ง » ทับทิม
» น้อยหน่า » บอระเพ็ด » บัวบก » ปลาไหลเผือก » ฝรั่ง » ผักบุ้งทะเล » เพกา
» พญายอ » พลู » ไพล » ฟักทอง » ฟ้าทลายโจร » มะเกลือ » มะขาม
» มะขามแขก » มะคำดีควาย » มะนาว » มะพร้าว » มะแว้งเครือ » มะแว้งต้น
» มะหาด » มังคุด » ยอ » ย่านาง » เร่ว » เล็บมือนาง » ว่านหางจระเข้
» สะแก » สับปะรด » เสลดพังพอน » สีเสียดเหนือ » หญ้าคา
» หญ้าหนวดแมว » แห้วหมู » อ้อยแดง

ขี้เหล็ก

ชื่อในท้องถิ่น ขี้เหล็กบ้าน (ลำปาง) , ขี้เหล็กใหญ่ (ภาคกลาง) , ขี้เหล็กหลวง (ภาคเหนือ) , ผักจี้ลี้ (เงี้ยว – แม่ฮ่องสอน) , ยะหา (ปัตตานี) , ขี้เหล็กจิหรี่ (ภาคใต้)

ลักษณะของพืช

ขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางใบเป็ยใบประกอบ ประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 10 คู่ใบเรียวปลายใบมนหยักเว้าหาเส้นกลางใบเล็กน้อย โคนใบกลมสีเขียว ใต้ใบซีดกว่าด้านบนใบ และมีขนเล็กน้อยดอกเป็นช่อสีเหลือง ฝักแบนหนา มีเมล็ดอยู่ข้างใน

ส่วนที่ใช้เป็นยา ใบอ่อนและดอก

รสและสรรพคุณยาไทย ดอกตูมและใบอ่อน รสขม ช่วยระบายท้อง ดอกตูมทำให้ นอนหลับ เจริญอาหาร

วิธีใช้ ขี้เหล็กใช้เป็นยารักษาอาหารท้องผูก และอาการนอนไม่หลับ ทำได้ดังนี้

1. อาการท้องผูก ใช้ใบขี้เหล็ก (ทั้งใยอ่อนและใบแก่) 4 – 5 กำมือ ต้มเอาน้ำดื่มก่อนอาหารหรือเวลามีอาการ

2. อาการนอนไม่หลับ กังวลเบื่ออาหาร ให้ใช้ใบแห้งหนัก 30 กรัม หรือใช้ใบสดหนัก 50 กรัม ต้มเอาน้ำรับประทานก่อนนอน หรือใช้ใบอ่อนทำเป็นยาดองเหล้า (ใส่เหล้าขาวพอท่วมยา แช่ไว้ 7 วัน คนทุกวันให้ น้ำยาสม่ำเสมอ กรองกากยาออก จะได้ยาดองเหล้าขี้เหล็ก) ดื่มครั้งละ 1 – 2 ช้อนชาก่อนนอน

»» หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»» พืชวัตถุ
»» สัตว์วัตถุ
»» ธาตุวัตถุ
»» ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»» ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»» การเก็บยา
»» ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»» สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»» สีผสมอาการจากธรรมชาติ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย