สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»
กระเทียม
»
กระวาน
»
กระเจี๊ยบแดง
»
กะทือ
»
กระชาย
»
กะเพรา
»
กล้วยน้ำว้า
»
กานพลู
»
ข่า
»
ขิง
»
ขลู่
»
ขมิ้น
»
ขี้เหล็ก
» คูน »
ชุมเห็ดเทศ
»
ชุมเห็ดไทย
»
ดีปลี
»
ตำลึง
»
ตะไคร้
»
เทียนบ้าน
»
ทองพันชั่ง
»
ทับทิม
»
น้อยหน่า
»
บอระเพ็ด
»
บัวบก
»
ปลาไหลเผือก
»
ฝรั่ง
»
ผักบุ้งทะเล
»
เพกา
»
พญายอ
»
พลู
»
ไพล
»
ฟักทอง
»
ฟ้าทลายโจร
»
มะเกลือ
»
มะขาม
»
มะขามแขก
»
มะคำดีควาย
»
มะนาว
»
มะพร้าว
»
มะแว้งเครือ
»
มะแว้งต้น
»
มะหาด
»
มังคุด
»
ยอ
»
ย่านาง
»
เร่ว
»
เล็บมือนาง
»
ว่านหางจระเข้
»
สะแก
»
สับปะรด
»
เสลดพังพอน
»
สีเสียดเหนือ
»
หญ้าคา
»
หญ้าหนวดแมว
»
แห้วหมู
»
อ้อยแดง
คูน
ชื่อท้องถิ่น ลมแล้ง (ภาคเหนือ) , ลักเกลือ , ลักเคย (ปัตตานี) ,
ชัยพฤกษ์ , ราชพฤกษ์ (ภาคกลาง) , กุเพยะ (กะเหรี่ยง)
ลักษณะของพืช คูนเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบรูปไข่ปลายแหลม
ดอกเป็นช่อระย้าสีเหลือง และมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ฝักรูปร่างกลมยาว
เวลาอ่อนฝักมีสีเขียวแก่จัดเป็นสีน้ำตาล
ส่วนที่ใช้เป็นยา เนื้อในฝักแก่
ช่วงเวลาที่เก็บเป็นยา เก็บช่วงฝักแก่ เปลือกเป็นสีน้ำตาลเข้ม
รสและสรรพคุณยาไทย ราหวานเอียนเล็กน้อย สรรพคุณเป็นยาระบาย ทำให้ถ่ายสะดวก
ไม่มวนไม่ไซ้ท้อง
วิธีใช้ เนื้อในฝักคูนแก้อาการท้องผูก
ทำได้โดยเอาเนื้อในฝักแก่ก้อนเท่าหัวแม่มือ (ประมาณ 4 กรัม)
ต้มกับน้ำใส่เกลือเล็กน้อย
ดื่มก่อนนอนหรือตอนเช้าก่อนอาหารเหมาะเป็นยาระบายสำหรับคนที่ท้องผูกเป็นประจำและสตรีมีครรภ์ก็ใช้ฝักคูนเป็นยาระบายได้
»»
หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»»
พืชวัตถุ
»»
สัตว์วัตถุ
»»
ธาตุวัตถุ
»»
ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»»
ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»»
การเก็บยา
»»
ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»»
สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»»
สีผสมอาการจากธรรมชาติ