สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»
กระเทียม
»
กระวาน
»
กระเจี๊ยบแดง
»
กะทือ
»
กระชาย
»
กะเพรา
»
กล้วยน้ำว้า
»
กานพลู
»
ข่า
» ขิง »
ขลู่
»
ขมิ้น
»
ขี้เหล็ก
»
คูน
»
ชุมเห็ดเทศ
»
ชุมเห็ดไทย
»
ดีปลี
»
ตำลึง
»
ตะไคร้
»
เทียนบ้าน
»
ทองพันชั่ง
»
ทับทิม
»
น้อยหน่า
»
บอระเพ็ด
»
บัวบก
»
ปลาไหลเผือก
»
ฝรั่ง
»
ผักบุ้งทะเล
»
เพกา
»
พญายอ
»
พลู
»
ไพล
»
ฟักทอง
»
ฟ้าทลายโจร
»
มะเกลือ
»
มะขาม
»
มะขามแขก
»
มะคำดีควาย
»
มะนาว
»
มะพร้าว
»
มะแว้งเครือ
»
มะแว้งต้น
»
มะหาด
»
มังคุด
»
ยอ
»
ย่านาง
»
เร่ว
»
เล็บมือนาง
»
ว่านหางจระเข้
»
สะแก
»
สับปะรด
»
เสลดพังพอน
»
สีเสียดเหนือ
»
หญ้าคา
»
หญ้าหนวดแมว
»
แห้วหมู
»
อ้อยแดง
ขิง
ชื่อท้องถิ่น ขิงเผือก (เชียงใหม่) , ขิงแคลง , ขิงแดง (จันทบุรี)
, สะเอ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช ขิงเป็นพืชล้มลุกมีแง่งใต้ดิน แง่งจะแตกแขนงคล้ายนิ้วมือ
เนื้อในสีเหลืองแกมเขียว ลำต้นที่อยู่เหนือต้นงอกจากแง่งตั้งตรงยาวราว 2 3 ศอก
ใบสีเขียว เรียวแคบ ปลายใบแหลม ดอกเป็นช่องขนากเล็กก้านดอกสั้น
ดอกสีเหลืองและจะบานจากโคนไปหาส่วนปลาย
ส่วนที่ใช้เป็นยา เหง้าแก่สด
ช่วงเวลาที่เป็นยา เก็บเกี่ยวในช่วงอายุ 11 12 เดือน
รสและสรรพคุณยาไทย รสหวานเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียด แก้เสมหะ บำรุงธาตุ
แก้คลื่นเหียนอาเจียน
วิธีใช้ เหง้าขิงใช้เป็นยารักษาอาการต่างๆ ดังนี้
1. อาการท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด และอาการคลื่นไส้อาเจียน
เนื่องจากธาตุไม่ปกติ เมารถ เมาเรือ โดยใช้เหง้าแก่สดขยาดเท่าหัวแม่มืด (ประมาณ 5
กรัม) ทุบให้แตก ต้มเอาน้ำดื่ม
2. อาการไอ มีเสมหะ ฝนกับน้ำมะนาว รหือใช้เหง้าสดตำผสมน้ำเล็กน้อย
คั้นเอาน้ำและแทรกเกลือเล็กน้อย ใช้กวาดคอหรือจิบบ่อยๆ
»»
หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»»
พืชวัตถุ
»»
สัตว์วัตถุ
»»
ธาตุวัตถุ
»»
ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»»
ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»»
การเก็บยา
»»
ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»»
สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»»
สีผสมอาการจากธรรมชาติ