สุขภาพ ความงาม อาหารและยา สมุนไพร สาระน่ารู้ >>
สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»
กระเทียม
» กระวาน »
กระเจี๊ยบแดง
»
กะทือ
»
กระชาย
»
กะเพรา
»
กล้วยน้ำว้า
»
กานพลู
»
ข่า
»
ขิง
»
ขลู่
»
ขมิ้น
»
ขี้เหล็ก
»
คูน
»
ชุมเห็ดเทศ
»
ชุมเห็ดไทย
»
ดีปลี
»
ตำลึง
»
ตะไคร้
»
เทียนบ้าน
»
ทองพันชั่ง
»
ทับทิม
»
น้อยหน่า
»
บอระเพ็ด
»
บัวบก
»
ปลาไหลเผือก
»
ฝรั่ง
»
ผักบุ้งทะเล
»
เพกา
»
พญายอ
»
พลู
»
ไพล
»
ฟักทอง
»
ฟ้าทลายโจร
»
มะเกลือ
»
มะขาม
»
มะขามแขก
»
มะคำดีควาย
»
มะนาว
»
มะพร้าว
»
มะแว้งเครือ
»
มะแว้งต้น
»
มะหาด
»
มังคุด
»
ยอ
»
ย่านาง
»
เร่ว
»
เล็บมือนาง
»
ว่านหางจระเข้
»
สะแก
»
สับปะรด
»
เสลดพังพอน
»
สีเสียดเหนือ
»
หญ้าคา
»
หญ้าหนวดแมว
»
แห้วหมู
»
อ้อยแดง
กระวาน
ชื่อท้องถิ่น กระวานโพธิสัตว์ , กระวานจันทร์ (กลาง) ,กระวานดำ ,
กระวานแดง , กระวานขาว (กลาง , ตะวันออก)
ลักษณะของพืช
ปลูกโดยการแยกหน่อ ขึ้นในดินแทบทุกชนิด เจริญได้ดีที่ชุ่มชื้นและเย็น
โดยเฉพาะใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ ยังพบได้ในป่าที่มีความชื้นสูงทางภาคใต้ของประเทศไทย
เวลาปลูกจะแยกหน่อออกจากต้นแม่ ถ้ามีลำต้นติดมาให้ตัดเหลือประมาณ 1 คืบ
เพื่อลดการสูญเสียน้ำ นำหน่อไปชำในที่ชุ่มชื้น หรือจะนำลงปลูกเลยก็ได้
ดูแลความชื้นให้สม่ำเสมอ
กระวานเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่รัฐบาลให้ความสนใจเพราะกระวานเป็นได้ทั้งเครื่องเทศและสมุนไพร
ลูกกระวานทำรายได้ให้กับประเทศในปี พ.ศ. 2527 ส่งออกประมาณ 22.1 ตัน (มูลค่า 7
ล้านบาท) ส่งไปขายประเทศอังกฤษ จีนและญี่ปุ่น แหล่งปลูกอยู่จังหวัดยะลาและจันทบุรี
ส่วนที่ใช้เป็นยา ผลแก่
ช่วงเวลาที่เก็บยา ตั้งแต่เริ่มปลูกจนมีอายุ 4 5 ปี จึงจะเริ่มเก็บผลได้
ผลแก้เก็บในช่วงเดือนสิงหาคม เดือนมีนาคม
รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดร้อน กลิ่นหอม เป็นยาขับลมและเสมหะ
วิธีใช้ 1. ผลกระวานแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด
โดยเอาผลแก่จัดตากแห้งและบดเป็นผงรับประทานครั้งละ 1 ช้อนครึ่ง - 3 ช้อนชา (หนัก 1
- 2 กรัม) ชงกับน้ำอุ่น
2. ผลกระวานยังใช้ผสมกับยาถ่าย เช่น มะขามแขก เพื่อบรรเทาอาการไซ้ท้อง
»»
หลักในการพิจารณาตัวยา 5 ประการ
»»
พืชวัตถุ
»»
สัตว์วัตถุ
»»
ธาตุวัตถุ
»»
ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
»»
ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
»»
การเก็บยา
»»
ตัวยาประจำธาตุ
»» สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
»»
สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ
»»
สีผสมอาการจากธรรมชาติ