ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์จีน

การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง

(the Song Synthesis)

ช่วงระหว่างราชวงศ์ซ้องทางตอนใต้ (ค.ศ.1127–1279) บรรดานักปรัชญาพยายามปกป้องสติปัญญาแบบลัทธิขงจื่อต่อการท้าทายของพุทธศาสนาและลัทธิเต๋าโดยการสังเคราะห์ เรียกการกระทำนี้ว่า the Song Synthesis (การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง). ด้านความรู้ทางด้านสุนทรียศาสตร์ ได้ทำให้ศิลปะของผู้คงแก่เรียนกับจิรยศาสตร์, ความลึกลับ-อาคม, มีการบูรณาการและสังเคราะห์เข้าหากันจนถึงจุดสูงสุด และทางการศึกษาแบบคลาสสิก ยังคงสืบสานต่อเนื่องมาจนกระทั่งถึงปลายราชวงศ์ชิง(แมนจู)ใน ค.ศ.1911 (Chan; De Bary, 1960, chaps. 17–19; Koller and Koller, chaps. 21–22; Black).

อ่านต่อ >>>

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.1966–1976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม (ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย