ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์จีน

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ

สำหรับขงจื่อ (Confucius / 551–479 B.C.E.) พิธีกรรมและดนตรี ซึ่งถูกปฏิบัติด้วยแบบแผนคล้ายการแสดงทางด้านศิลปะ กำหนดพฤติกรรมความเป็นสุภาพบุรุษตามแนวคิดของขงจื่อ(Graham, p. 11). ดนตรี (yue) ประกอบด้วยดนตรีที่เล่นเพื่องานพิธี เสียงร้องและท่าร่ายรำ โดยปฐมบทแล้ว เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์และระเบียบแบบแผน(li). ทั้งคู่เกิดขึ้นมาจากความสอดคล้องและผลิตความกลมกลืน โดยการเปลี่ยนแปลงจิตใจ แปรเปลี่ยนความสัมพันธ์ของมนุษย์ และด้วยเหตุดังนั้นจึงเปลี่ยนแปลงฝ่ายปกครองด้วย. สำหรับขงจื่อ “การปกครองทั้งหมดสามารถถูกลดทอนลงมาเป็นระเบียบแบบแผนหรือพิธีการได้”(Graham, p. 13). ในทางตรงข้าม The Mohists (*), “ดนตรี "condemned music … (การประกอบสร้างทางศีลธรรมขึ้นมาอีกครั้ง / re-construing morality) ถือเป็นชุดหนึ่งของหลักการต่างๆ ทางนามธรรม” (Graham, p. 259).

    (*) Mohism or Moism (literally "School of Mo") was a Chinese philosophy developed by the followers of Mozi (also referred to as Mo Tzu, Latinized as Micius), 470 BCE–c.391 BC. It evolved at about the same time as Confucianism, Taoism and Legalism and was one of the four main philosophic schools during the Spring and Autumn Period and the Warring States Period (from 770 BCE to 221 BCE). During that time, Mohism was seen as a major rival to Confucianism. The Qin dynasty, which united China in 221 BCE, adopted Legalism as the official government philosophy and suppressed all other philosophic schools. The Han dynasty that followed adopted Confucianism as the official state philosophy, as did most other successive dynasties, and Mohism all but disappeared as a separate school of thought.

อ่านต่อ >>>

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.1966–1976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม (ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย