ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์จีน

วังเว่ย

 งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล

การเปลี่ยนผ่านจากสุนทรียศาสตร์ในลักษณะระเบียบแบบแผนทางการเมือง สู่สุนทรียศาสตร์ของชนชั้นสูงหรือผู้มีความรู้ อันเป็นเรื่องเกี่ยวกับการแสดงออกส่วนตัว ได้ถูกพบเห็นได้ในความเรียงชิ้นหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นงานของ Wang Wei (c. 415–443), ผู้คงแก่เรียนซึ่งจัดวางงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์ในความสัมพันธ์กับระเบียบแบบแผนกับจักรวาล: [ตามความคิดของ Wang Wei,] งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” (ba gua) [ยันห์แปดเหลี่ยม - the eight trigrams of geomancy], หมายความว่า ภาพโครงสร้างป้ากัว (ba gua) คือแผนผังเชิงสัญลักษณ์หนึ่งเกี่ยวกับการทำงานของจักรวาล



    ดังนั้นงานจิตรกรรมภาพทิวทัศน์จึงเป็นภาษาเชิงสัญลักษณ์ ซึ่งจิตรกรได้แสดงออก มิใช่โดยสัมพัทธ์/เทียบเคียงเหมือนจริง แต่เป็นแง่มุมลักษณะเฉพาะของธรรมชาติที่ได้รับการเฝ้ามองชั่วขณะหนึ่งจากมุมมองหนึ่งเท่านั้น จิตรกรรมภาพทิวทัศน์เป็นความจริงโดยทั่วไปที่อยู่พ้นไปจากกาละและเทศะ แม้ว่า Wang Wei … จะเต็มไปด้วยข้อสงสัยถึงพลังอำนาจอันลึกลับของศิลปินเกี่ยวกับการบีบอัดข้อมูลภาพ แต่เขายืนยันว่า งานจิตรกรรมเป็นมากกว่าการฝึกฝนทางด้านทักษะ; “จิตวิญญานจักต้องได้รับการฝึกปรือเช่นกัน เพื่อควบคุมเหนือภาพธรรมชาติเหล่านี้ ซึ่งนี่คือสาระหรือแก่นแท้ของงานจิตรกรรม” (Sullivan, p. 97)

อ่านต่อ >>>

พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ “ป้ากัว” หรือ แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.1966–1976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill

ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม (ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย