ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
สุนทรียศาสตร์จีน
ซุนซี
ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง: ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
ซุนซี (Xunzi / 300237 B.C.E.) (*)
และบรรดาสาวกของท่านได้พัฒนาความคิดของขงจื่อที่ว่า
ดนตรีเป็นเรื่องที่ให้คุณประโยชน์(หรืออันตราย ถ้าหากเป็นไปในทางที่ผิด)
ในทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับประสิทธิภาพทางศีลธรรมของดนตรี.
ซุนซีถือเป็นบุคคลแรกที่ประดิษฐ์ประดอยความสัมพันธ์อันประณีตระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน
คำอธิบายเกี่ยวกับดนตรีของท่าน เริ่มต้นด้วย ดนตรีคือความสุขสำราญ
สิ่งที่มนุษย์ที่แท้ไม่อาจปฏิเสธที่จะเกี่ยวข้องด้วย (Graham, p. 260). โดยเหตุนี้
การฝึกฝนทางด้านดนตรี จึงเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งต่อการศึกษาและการปกครอง ในทัศนะนี้
ผู้ปกครองสามารถใช้ประโยชน์ดนตรีและพิธีกรรมเพื่อให้ความรู้หรือความสว่างกับผู้คน
และด้วยเหตุดังนั้นจึงปกครองได้เป็นอย่างดี
(*) Xun Zi (ca. 312230 BCE) was a Chinese Confucian
philosopher who lived during the Warring States Period and contributed to one of
the Hundred Schools of Thought. Xun Zi believed man's inborn tendencies need to
be curbed through education and ritual, counter to Mencius's view that man is
innately good. This is similar to Thomas Hobbes's idea that men are naturally
evil, and they have to be led by a greater power to stop competing each other.
He believed that ethical norms had been invented to rectify mankind.
กระทั่งคริสตศักราช 530 นักวิจารณ์บทกวี Xiao Tong (**)
ได้ปลดปล่อยสุนทรียศาสตร์จากจริยศาสตร์
งานเขียนที่มีการเลือกสรรของเขาสำหรับผลงานตัดตอนมานำเสนอ
ได้ถูกนำมาเป็นแนวทางแนะนำถึงคุณค่าของสุนทรียภาพ มิใช่ข้อพิจารณาต่างๆ ทางศีลธรรม
(**) Xiao Tong (501-531), courtesy name Deshi (formally
Crown Prince Zhaoming (literally "the accomplished and understanding crown
prince"), later further posthumously honored as Emperor Zhaoming (was a crown
prince of the Chinese dynasty Liang Dynasty. He was Emperor Wu (Xiao Yan)'s
oldest son, who predeceased his father.
พิธีกรรมและดนตรี ในแนวคิดของขงจื่อ
ซุนซี: ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับระเบียบแบบแผน เสี้ยวทง:
ผู้ปลดปล่อยดนตรีจากจริยศาสตร์ (ค.ศ.530)
สุนทรียศาสตร์ถูกครอบงำโดยชนชั้นสูง
วังเว่ย: งานจิตรกรรมจักต้องสอดคล้องกับ ป้ากัว หรือ
แผนผังจักรวาล
ซังฮี: แนวทางหลัก 6 ประการสำหรับการตัดสินจิตรกรรม
การสังเคราะห์ในราชวงศ์ซ้อง(the Song Synthesis)
เหมาเซตุง, หลู่ซิ่น: ศิลปะรับใช้การปฏิวัติ
มวลชนในฐานะที่เป็นวีรบุรุษต่างๆ ในภาพเขียน
การปฏิวัติวัฒนธรรม (the Cultural Revolution) ค.ศ.19661976
ปล่อยให้ดอกไม้ร้อยดอกเบ่งบาน โรงเรียนร้อยแห่งแข่งขัน
สุนทรียศาสตร์จีน (Chinese aesthetics)
นำมาจาก EAST ASIAN
AESTHETICS AND NATURE David Landis Barnhill
ศิลปะไม่ใช่การอธิบายเกี่ยวกับความจริงของผิวหน้า
กวีที่ยิ่งใหญ่ได้บรรลุถึงเอกภาพแห่งทวินิยม
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ
วัฒนธรรมมนุษย์จึงไม่แยกจากธรรมชาติ
สุนทรียศาสตร์ชาวจีนตั้งอยู่บนฐานความหมายที่สาม
(ความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ)