ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ (1)

» หน้าถัดไป


💠 โสคราตีส
โสคราตีสเป็นชายหนุ่ม ชีวิตวัยหนุ่มของโสคราตีส เราไม่รู้จัก เอกสารชิ้นแรกสุดที่ พูดถึงเขาคือ (บทละครเรื่อง) หมู่เมฆ ของอริสโตฟาเน็ส

💠 จริยธรรม
ความเป็นผู้มีคุณธรรมในจิตใจ และมีจริยธรรมที่น่าเลื่อมใสศรัทธา ซึ่งคุณธรรมจริยธรรมถือว่าเป็นสมบัติอันสำคัญที่จะเป็นส่วนเสริมให้ผู้บริหารนั้นสามารถครองตน ครองคน และครองงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

💠 ปรัชญาและอุดมการณ์ในการพัฒนาตนเอง
ในการดำเนินงานขององค์การนั้น ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทำให้ทุกองค์การต่างหาแนวทางเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ความสามารถและมีจิตวิญญาณของความเป็นคนคุณภาพ

💠 ลัทธิบริโภคนิยมและจิตวิญญาณของระบบทุนนิยม
เช่นเดียวกับระบบความสัมพันธ์ทางสังคมอื่นๆ ระบบทุนนิยมทำหน้าที่อยู่บนองค์ประกอบสำคัญในสังคม

💠 แนวทางการใช้เหตุผลของมนุษย์แนวตะวันตก
“มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีเหตุผล” คำกล่าวนี้ต้องการแสดงให้เห็นว่า “เหตุผล” เป็นสิ่งที่ทำให้มนุษย์นั้นแตกต่างจากสัตว์ชนิดอื่นบนโลก “เหตุผล” เป็นคุณสมบัติที่มนุษย์ใช้สร้างสรรค์วิถีการดำรงชีวิตและสิ่งต่าง ๆ

💠 แนวทัศนะของนักจิตวิทยา
แนวคิด ทฤษฎีที่สำคัญและระเบียบวิธีการทางจิตวิทยาเพื่อสะดวกในการทำความเข้าใจและเปรียบเทียบความแตกต่างและความคล้ายคลึงของกลุ่มเป็นการจัดระเบียบแนวคิดให้เป็นหมวดหมู่

💠 กฎแห่งขั้นสามขั้น (The Laws of Three Stages)
ปรัชญาทางสังคมของคองขึ้นอยู่กับแนวความคิดเกี่ยวกับขั้นสามขั้น เขามีความคิดว่า ความรู้ของมนุษย์ผ่านขั้น 3 ขั้น

💠 สรุปจิตวิทยา
จิตวิทยา เป็นองค์ความรู้ที่มีแนวร่วมระหว่างศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ คือ เพื่ออธิบายหรือเข้าใจ ทำนาย และควบคุมพฤติกรรมของบุคคลและสังคม

💠 ทฤษฎีแห่งความรู้
Epistemology เป็นการศึกษาเกี่ยวกับคำถามที่ว่า เรารู้ได้อย่างไร และสิ่งที่รู้ รู้ตรงตามข้อเท็จจริงหรือไม่

💠 ทฤษฎีธรรมชาติของความรู้
ญาณวิทยาเป็นเรื่องที่ศึกษาถึงลักษณะเด่นของความเป็นมนุษย์เหนือกว่าสัตว์โลกประเภทอื่นก็คือ รู้จักคิด ทำให้มนุษย์มีความรู้ มีสติปัญญาที่ล้ำเลิศ

💠 ญาณวิทยาในพุทธปรัชญา
ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติวิปัสสนา เป็นความรู้ ระดับโลกุตตรญาณ อาสวักขยญาณ รู้การทำอาสวะให้สิ้นไป เป็นตัวชีวัดว่าเป็นโลกุตรญาณ

💠 ญาณวิทยา (Epiststemology)
ญาณวิทยา เป็นคำแปลของคำว่า Epistemology ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยรูปแบบของความรู้ พัฒนาการ และขอบเขตของความรู้

💠 อภิปรัชญา
คำว่า อภิปรัชญา แปลตามตัวว่า ปรัชญาอันยิ่งหรือปรัชญาชั้นสูง เป็นคำที่ พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ทรงคิดขึ้นใช้แทนคำ metaphysics

💠 ทฤษฎีเกสตัลท์(Gestalt Theory)
แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์

💠 นักปรัชญาและการวิเคราะห์ข่าว
กฎที่สำคัญทางวิทยาศาสตร์อีกชิ้นหนึ่งของเพลโต คือ กฎที่เกี่ยวกับแสงที่ว่าแสงเดินทางเป็นเส้นตรง

💠 ปรัชญาไทย
ปรัชญาไทย สมัยก่อน มีส่วนคล้ายปรัชญาแบบพุทธ ต่อมา เมื่อนับถือพระพุทธศาสนา ก็เป็นแบบพุทธปรัชญาชัดเจน

💠 อำนาจนิยม
คำว่าลัทธิอำนาจเบ็ดเสร็จเป็นคำที่เกิดใหม่ในศตวรรษที่20 นี้ ซึ่งข้อดีและข้อเสียนั้นก็มีอยู่ไม่น้อย ข้อดีที่พบได้ อาทิเช่น ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการปกครอง การมีเอกภาพภายในสังคม

💠 ปรัชญาสาขาคุณวิทยา
ปรัชญาสาขาคุณวิทยา (axiology) เป็นปัญหาของปรัชญาสาขาที่สาม ซึ่งเป็นปัญหาที่เกี่ยวกับค่านิยมหรือคุณค่า (value) เช่นคำถามที่เกี่ยวกับปัญหาที่ว่า “อะไรเป็นค่านิยมที่สำคัญซึ่งเป็นสิ่งที่พึงปรารถนาของการมีชีวิตอยู่”

💠 ลักษณะทั่วไปของปรัชญาจีน
เป็นอุปกรณ์หรือมรรควิธีที่จะนำมาปฏิบัติ อันเป็นอุดมคติที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้ในชีวิต

💠 จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัยของมนุษย์เป็นศาสตร์ที่มีความสลับซับซ้อน จากการที่ต้องศึกษาการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ ในลักษณะองค์รวม ทั้งที่สามารถมองเห็นได้ง่าย ชัดเจน

💠 ความหมายของมนุษย์
คน หรือ มนุษย์ สามารถนิยามได้ทั้งในทางชีววิทยา, ทางสังคม และทางเจตภาพ (spirituality) ในทางชีววิทยานั้น มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตชนิด Homo sapiens

💠 จริยธรรมแห่งวิชาชีพและจริยศาสตร์
คำว่า จริยธรรมแห่งวิชาชีพ มรรยาทวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยศาสตร์ จริยศึกษา มีผู้กล่าวกันมากแต่จะหาคำตอบอธิบายที่ชัดเจนถึงความหมายที่แท้จริงนั้นยาก

💠 ความหมายของอภิปรัชญา
อภิปรัชญาเป็นคำแปลของคำว่า Metaphysics ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะ (Reality Essence)

💠 ความจริง
มีปัญหาที่ถกเถียงกันมาตลอดว่าพระพุทธศาสนามีแนวคิดใกล้เคียงกับอภิปรัชญาใดมากที่สุดเป็นธรรมชาตินิยม สัจจนิยม จิตตนิยม สสารนิยม หรือเหตุผลนิยม

💠 แนวคิดทฤษฎีหลังสมัยใหม่
ในสองทศวรรษที่ผ่านมา การถกเถียงกันเกี่ยวกับโพสท์โมเดิร์นได้มีอิทธิพลต่อฉากทางด้านศิลปวัฒนธรรมและวงวิชาการในหลายสาขาทั่วโลก

💠 ปรัชญาโลกตะวันตก
การศึกษาวิชานี้ช่วยให้เราเรียนรู้ทัศน์ต่าง ๆ ในเวลาเดียวกันก็ผลิตทัศน์ที่ไม่ซ้ำแบบใคร

💠 ปรัชญาพื้นฐานทางตะวันตกที่สำคัญ
ปรัชญาพื้นฐานที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาของประเทศตะวันตก มีหลายกลุ่ม และเนื่องจากการศึกษาตะวันตกมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน จึงควรทำความเข้าใจกับปรัชญาดังกล่าว

💠 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ เป็นคุณลักษณะของบุคคล แต่ละคนที่แสดงพฤติกรรมทั้งด้านร่างกายที่มองเห็นได้ชัดเจนจากภายนอก และด้านจิตใจที่ซ่อนอยู่ภายในไม่อาจมองเห็น หรือหยั่งรู้ได้

💠 ทฤษฎีและปรัชญาทางการเมือง
แนวความคิด หรือ มโนทัศน์ (Concept) คือ การสร้างภาพเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ได้

💠 นักปรัชญา
ฟรานซิส เบคอน
เรอเน เดสการ์ตส์
บารุค สปิโนซา
กอทฟริด วิลเฮล์ม ไลบ์นิส
ยอร์ช เบร์คเลย์
เดวิด ฮิวส์
โธมัส ฮอบส์
จอห์น ล็อก
อิมมานูเอิล คานท์
ย็อช วิลเฮลม ฟริดริช เฮเกล
ฟริดริค นิตเช่
ฌอง ปอล ซาร์ตร์
เซอเรน เคียร์เคอกอร์

» หน้าถัดไป


แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย