สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ (5)

» ย้อนกลับ


💠 วัฒนธรรมองค์กร
รูปแบบของวัฒนธรรมองค์กรในลักษณะต่างๆ เป็นการแบ่งประเภทตามพื้นฐานของตัวแปรที่แตกต่างกันไว้หลายรูปแบบ

💠 มนุษย์และความขัดแย้ง
หากมนุษย์เรามองให้ตัวเองเป็นศูนย์กลางของทุกสิ่งทุกอย่าง เราก็จะพบว่าแวดล้อมตัวเราก็จะมีมนุษย์คนอื่นๆ ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่ใกล้เคียงตัวเราที่สุด

💠 พนัน
ประเทศไทยได้มีการบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการพนันขึ้นใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว โดยในระยะแรกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพนันจะเป็นลักษณะของการควบคุมในรูปแบบของการจัดเก็บอากรบ่อนเบี้ย

💠 สาระน่ารู้เกี่ยวกับการละเมิด
ละเมิดคือ การกระทำใด ๆ โดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายโดยผิดกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นชีวิตร่างกาย ทรัพย์สินหรือสิทธิใด ๆ ก็ตาม

💠 กฎหมายระหว่างประเทศ
กฎหมายระหว่างประเทศเป็นหลักกฎหมายหรือข้อตกลงร่วมกันที่ใช้บังคับกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

💠 ค่านิยมทางเพศ
ค่านิยมทางเพศของวัยรุ่นในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกอย่างเปิดเผยในเรื่องเพศ โดยเฉพาะในวัยรุ่นหญิงหากมีค่านิยมทางเพศที่ไม่ถูกต้อง

💠 สัตว์สังคม
มนุษย์มีสติปัญญาในระดับสูงกว่าสัตว์อื่น ๆ สามารถประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ เพื่อนำมา ใช้ในการดำรงชีวิต

💠 การทุ่มตลาดทางสังคม
การทุ่มตลาดทางสังคม (Social dumping) เป็นศัพท์ที่มีความหมายลื่นไหล เดิมหมายถึง การขายสินค้าราคาถูก อันเป็นผลจากการใช้แรงงานนักโทษและแรงงานเด็ก

💠 หลักการของสหนัยนิยม
หากจะหาข้อบกพร่องในทฤษฏีสหนัยแล้วเราก็อาจจะต้องกลับไปพิจารณาปัญหา dilemma ของสหนัยนิยมแบบ particularism กับแบบ universalism นั้นเอง

💠 โสเภณี
ความสุขทางเพศเป็นความสุขที่เกิดจากความตื่นเต้น เร้าใจ และผ่อนคลาย ดังนั้นความแปลกใหม่ การต้องหลบหลีก หลบซ่อน และการได้ระบายอารมณ์ในที่สุดเมื่อมารับบริการทางเพศ

💠 เศรษฐศาสตร์สวัสดิการและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐศาสตร์สวัสดิการเป็นวิชาที่ช่วยให้มีการประเมินนโยบายเศรษฐกิจอย่างมีหลักเกณฑ์ ทั้งนี้เพื่อหาลู่ทางการเสนอแนะนโยบายที่จะก่อให้เกิดสวัสดิการสูงสุดแก่สังคม

💠 เศรษฐศาสตร์กับการตลาด
หากจะกล่าวถึงวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ศึกษาถึงความต้องการของคนที่มีอยู่อย่างไม่จำกัดเมื่อเทียบกับทรัพยากรอันจำกัดที่มีอยู่บนโลกแล้วนั้น ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่จะไม่กล่าวถึง ความต้องการ หรือ อุปสงค์ (Demand)

💠 เศรษฐศาสตร์จากมุมมองสตรีนิยม
เสนอถึงเหตุจำเป็นที่ควรบูรณาการวิชาเศรษฐศาสตร์ร่วมกับสตรีศึกษา เพื่อท้ายที่สุดแล้วหวังที่จะก่อให้เกิดการบูรณาการเศรษฐศาสตร์และสตรีศึกษาได้เนียนอย่างแท้จริง

💠 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
โครงสร้างเศรษฐกิจระหว่างประเทศประกอบด้วยระบบการค้าและระบบการเงิน ระบบการค้าประกอบด้วยสินค้าออกและสินค้าเข้า ส่วนระบบการเงินประกอบด้วย ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ และการจัดระเบียบการเงินระหว่างประเทศ

💠 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์ มุ่งศึกษาเรื่องการจัดสรรทรัพยากรที่ขาดแคลน เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ จัดว่าเป็นหัวใจสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

💠 เศรษฐศาสตร์กำลังคน
กำลังคนเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ เพราะกำลังคนเป็นตัวกำหนดยอดรวมของผลผลิตรวมของประเทศ ระดับการบริโภค ระดับการออมและระดับการลงทุน

💠 เหตุผลใหม่ของการเรียนเศรษฐศาสตร์
เราเรียนเศรษฐศาสตร์เพื่อเข้าใจและคาดคะเนพฤติกรรมของคนอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมของคนจำนวนมาก

💠 เศรษฐศาสตร์การเมืองและระบบโลก
ทฤษฎีว่าด้วยกิจกรรมของมนุษยชาติ ไม่อาจสั่งสมและพัฒนาตัวเองไปเรื่อย ๆ ทฤษฎีเกิดขึ้นตามหลังประวัติศาสตร์

💠 ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์
Principle Economic เป็นวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในการดำเนินธุรกิจเพื่อการดำรงชีพ(Business of life) ให้ได้มาซึ่งวัตถุสิ่งของเพื่อยังชีพให้ได้รับความสมบูรณ์พูนสุข

💠 หลักรัฐศาสตร์ และหลักนิติศาสตร์
ปัญหาเรื่องการแบ่ง " ศาสตร์ " ออก เป็นสาขาต่างๆเป็นประเด็นหนึ่งในหลายๆ ประเด็นที่เป็นที่ถกเถียงกันได้ในทางวิชาการ แต่การถกเถียงกันดังกล่าวในที่สุดแล้วกลายเป็น เรื่องที่ปกป้องวิชาชีพของแต่ละฝ่ายเสียเป็นส่วน ใหญ่

💠 อหิงสา
การไม่ใช้ความรุนแรง เป็นพลังยิ่งใหญ่ที่สุดที่มนุษย์มีอหิงสา มีอำนาจยิ่งกว่าศัสตราวุธใด ๆ

💠 เศรษฐกิจพอเพียงคือฐานแห่งคุณธรรมนำสู่สังคมสมานฉันท์
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนวทางสายกลางในการดำรงอยู่อย่างมั่นคง และยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ

💠 คาสปาร์ เฮาเซอร์ : กระบวนการสร้างมายาคติผ่านภาพยนตร์
Enigma of Kaspar Hauser เป็นภาพยนตร์ที่อิงจากเรื่องจริงของ คาสปาร์ เฮาส์เซอร์ (Kaspar Hauser) เด็กชายวัย 16 ปีที่ปรากฏตัวขึ้นบนถนนในเมืองนูเร็มเบิร์ก (Nuremberg) อย่างลึกลับ

💠 สภาพยุโรป
สภาพยุโรป (European Union) ตั้งขึ้นตั้งแต่ ค.ศ. 1993 โดยสนธิสัญญามาสทริกต์ (สนธิสัญญาลงนามกันในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993)

💠 ขอบเขตของสิทธิมนุษยชน
การใช้สิทธิและเสรีภาพดังกล่าวมีการโต้แย้งกันอยู่เสมอว่า  หากรัฐเข้าป้องกันหรือปราบปราม  หรือดำเนินคดี  จะเป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่

💠 แสวงหาสาระของประชาธิปไตยสำหรับเมืองไทย
สำหรับรัฐประหารในรัชกาลปัจจุบันที่เริ่มแต่ พ.ศ. 2490 นั้น ทุกครั้งมีความเลวร้ายคล้ายกัน และเป็นการฆ่าสาระของประชาธิปไตยทุกๆ ครั้งด้วย

💠 แนวคิด ทฤษฎีว่าด้วยรัฐ
รัฐ คือ กลไกทางการเมือง ซึ่งได้แก่ สถาบันต่างๆ ของรัฐบาล และข้าราชการที่ทำงานให้สถาบันเหล่านั้น ผู้ทำหน้าที่ในการปกครองบ้านเมือง โดยอำนาจตามกฎหมาย

💠 ทศพิธราชธรรม
แต่โบราณมาได้มีข้อกำหนดต่างๆ ที่พระมหากษัตริยาธิราชเจ้าพึงประฏิบัติ ในพระราชจริยาวัตรจัดเป็นพระคุณสมบัติที่สำคัญยิ่งด้วย เรียกว่า ทศราชธรรม หรือคุณธรรม 10 ประการ

💠 จรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับพยาบาล
การพยาบาลเป็นการปฏิบัติโดยตรงต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสังคม นับได้ว่าเป็นบริการในระดับสถาบันของสังคม

💠 วิวัฒนาการของมนุษย์
70 ล้านปีแห่งห้วงเวลาของการกำเนิดวิวัฒนาการของมนุษย์ จากสายพันธุ์ซึ่งเคยเป็นลิงไม่มีหาง เดินหลังค่อม มีขนเต็มตัว ค่อยๆพัฒนามาเป็นการเดินลำตัวตรง

💠 คนภูเขา
ท่ามกลางขุนเขาที่สูงสลับซับซ้อน ในภาคเหนือของประเทศไทย มีชาวชาวอยู่มากมายหลายเผ่า นับเป็นแสนๆคน พวกเขาเหล่านี้ล้วนเป็นประชากรส่วนหนึ่งของชาติ

💠 ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิในการพัฒนา
การพัฒนา คือ กระบวนการรอบด้านทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง ซึ่งมีความสม่ำเสมอ ในการ มุ่งยกระดับความผาสุกของประชากรทั้งมวล

💠 กฎมาตรฐาน ว่าด้วยการสร้างความเสมอภาคทางโอกาสให้แก่คนพิการ

💠 ประวัติการเมืองการปกครองไทย
นอกจากร่องรอยทางโบราณคดีและหลักฐานทางตำนานแล้ว ไม่ปรากฏหลักฐานอื่น ๆ เกี่ยวกับนครรัฐไทยเหล่านี้มากนัก ทำให้เราไม่ทราบความเป็นมา และสภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของนครรัฐไทยในระยะแรก ๆ

💠 นาวาสมุทร นาวาชีวิต
เมื่อสัญญาณของการเดินทางเริ่มดังขึ้น หมู่ลูกเรือทุกคนต่างเข้าประจำหน้าที่ของตนด้วยความพร้อมเพรียง เพื่อประสานการทำงานอย่างกลมเกลียว เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวด้วยศรัทธา

💠 บัญญัติ 10 ประการ วิชาเศรษฐศาสตร์
คำว่า "เศรษฐกิจ" หรือ "Economy" มาจากคำศัพท์ภาษากรีก ที่แปลว่า "ผู้ดูแลจัดการครัวเรือน"

💠 คิดอย่างผู้นำโลก
ผู้นำคิดอย่างผู้นำ ผู้ตามคิดอย่างผู้ตาม สัจธรรมของโลก คือปลาใหญ่กินปลาเล็ก ข้อสรุปจากเรื่องนี้ จะช่วยให้เราเป็นปลาใหญ่ที่ไม่รังแกใคร

💠 การเดินทางท่องเที่ยว
การเดินทางเป็นกิจกรรมที่กระทำควบคู่กับสังคมมนุษย์แต่การเดินทางในแต่ละยุคอาจมีความแตกต่างกันทั้งวัตถุประสงค์และวิธีการเดินทาง

💠 สู่ความเป็นสากล
สัจธรรมได้ชี้ไว้อย่างชัดเจนว่า ทุกสิ่งมองได้สองด้าน และรู้ได้ว่าด้านไหนคือพื้นฐานของอีกด้านหนึ่ง

💠 สังคมนิยมและคอมมิวนิสม์
เกออร์ก เฮเกล จิตนิยมแบบปฏิพัฒนา โดยให้ความสำคัญแก่ความคิดหรือจิต โดยมีเป้าหมายคือ การรู้แจ้งเห็นจริงทางความคิด

💠 ขับเคลื่อนชีวิตด้วยความรัก
ความโกรธทำให้เราเผลอตัวได้ง่าย ถ้อยคำรุนแรงที่หลุดออกไป แม้ตั้งใจจะเล่นงานผู้อื่น

💠 พระบิดาการปฏิรูปโครงสร้างทางการเกษตรเพื่อเกษตรกร
เพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยปวงชนชาวไทยตลอดมาและเนื่องในปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา

💠 เศรษฐศาสตร์เพื่อชุมชน
  “ เศรษฐกิจ ” หมายถึง การกระทำใด ๆ อันก่อให้เกิดการผลิต การจำหน่าย การกระจายผลผลิต การแลกเปลี่ยนผลผลิต และการบริโภค

💠 พัฒนาการสังคมไทย
เชื่อว่าถิ่นกำเนิดของคนไท (ไทย) อยู่บริเวณมณฑลเสฉวน ตอนกลางของประเทศจีน แล้วอพยพลงมาทางตอนใต้ เข้าสู่แคว้นสุวรรณภูมิ ผู้ที่มีความเชื่อในกลุ่มนี้ คือ เตเรียน เดอลาคูเปอรี สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระยาอนุมานราชธน และหลวงวิจิตรวาทการ

💠 มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์กับการเพิ่มผลิตภาพขององค์กร
นปัจจุบันแนวคิดการใช้มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ หรือที่เรียกว่า Economic Value Added (EVA) เพื่อนำมาเป็นระบบการวัดผลและการจัดการองค์กรเริ่มได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง

💠 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
วัฒนธรรมทางด้านการกินอยู่ ชาติทางตะวันตกบางชาติการกินอยู่ซับซ้อน ยุ่งยาก และใช้เวลานาน อุปกรณ์ประกอบการกินมีมาก มีระเบียบวิธีการมาก

💠 สงครามระหว่างอวิชชา
สิ่งที่ท้าทายนักวางนโยบายของตะวันตกก็คือ ทำอย่างไรตะวันตกจะเข้มแข็งกว่าและปกป้องตัวเองจากอารยธรรมอื่น ๆ

» ย้อนกลับ


แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย