ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔

เล่มที่ ๒๒

อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต

ปัญจมปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๕

๔.ตรัสแสดงถึงภิกษุผู้เป็นเจ้าถิ่นที่ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่างว่าเป็นผู้ไม่ควรสรรเสริญ

(อรรถกถาแก้ว่า ไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเจริญ ) คือไม่สมบูรณ์ด้วยอากัปปกิริยาและวัตร, ไม่สดับตรับฟังมาก ไม่ทรงจำ, ไม่ขัดเกลากิเลส ไม่ยินดีในการขัดเกลา ไม่ยินดีในความดี, ไม่มีวาจาไพเราะ, มีปัญญาทราม.

แล้วทรงแสดงฝ่ายดีตรงกันข้าม.

กับทรงแสดงถึงภิกษุผู้เป็นเจ้าถิ่นที่เป็นที่รักเป็นที่พอใจของเพื่อนพรหมจารี และตรงกันข้ามอื่น ๆ อีกจนจบวรรค ข้อความคล้ายคลึงกัน เป็นแต่เปลี่ยนคุณธรรมบางข้อ.

<< ย้อนกลับ || หน้าถัดไป >>

- ตรัสแสดงธรรมะแก่พระกิมพิละ
- ตรัสว่า ภิกษุด่าบริภาษเพื่อนพรหมจารี ผู้กล่าวร้ายพระอริยเจ้า
- ตรัสแสดงโทษของการจาริกไปนาน โดยไม่มีจุดหมาย
- ตรัสแสดงถึงภิกษุผู้เป็นเจ้าถิ่นที่ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่างว่าเป็นผู้ไม่ควร สรรเสริญ
- ตรัสแสดงโทษของทุจจริต ๕ อย่าง

ปฐมปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๑
ทุติยปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๒
ทุติยปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๓
จตุตถปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๔
ปัญจมปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๕
ฉักกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี ๖ ข้อ
ทุติยปัณณาสก์ หมวด ๕๐ ที่ ๒
หมวดนอกจาก ๕๐
พระสูตรที่ไม่จัดเข้าวรรค


» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย