ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙

เล่มที่ ๑๗ ชื่อสังยุตตนิกาย นิทานวรรค

พระไตรปิฏกเล่มนี้ ส่วนใหญ่ว่าด้วยเรื่องขันธ์ ๕ คือ

๑. รูป (ธาตุทั้งสี่ประชุมกันเป็นกาย และรูปอาศัย คืออาการอื่น ๆ ที่อาศัยธาตุทั้งสี่ปรากฏขึ้น เช่น ตา หู จมูก เป็นต้น ) .

๒. เวทนา ( ความรู้สึกอารมณ์เป็นสุข เป็นทุกข์ และมิใช่ทุกข์มิใช่สุข ซึ่งเกิดจากสัมผัส ๖ มีสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ )

๓. สัญญา (ความจำได้หมายรู้ เช่น จำรูป จำเสียง เป็นต้น )

๔. สังขาร ( ความคิดหรือเจตนาที่เป็นไปในรูป เสียง เป็นต้น )

๕. วิญญาณ ( ความรู้แจ้งอารมณ์ หมายถึงรู้สึกว่า เห็นรูป ฟังเสียง เป็นต้น).

พระไตรปิฏกเล่มนี้ รวมทั้งหมดมี ๑๓ สังยุตต์ คือ ?-

๑. ขันธสังยุตต์ประมวลเรื่องขันธ์ กล่าวถึงขันธ์ ๕ พร้อมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ.

๒. ราธสังยุตต์ ประมวลเรื่องพระราธะ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมสั่งสอนพระราธะผู้เดิมเป็นพราหมณ์ ภายหลังมาบวชในพระพุทธศาสนา ท่านเป็นผู้ว่าง่าย รับฟังโอวาทด้วยความเคารพ.

๓. ทิฏฐิสังยุตต์ ประมวลเรื่องทิฏฐิ คือความคิดเห็นที่เนื่องด้วยขันธ์ ๕.

๔. โอกกันตสังยุตต์ ประมวลเรื่องข้ามพ้นภูมิชั้นต่ำหรือภูมิบุถุชน.

๕. อุปปาทสังยุตต์ ประมวลเรื่องความเกิดขึ้น แห่งตา หู เป็นต้น เท่ากับเป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์.

๖. กิเลสสังยุตต์ ประมวลเรื่องกิเลส คือความชั่วภายในจิตใจที่ทำใจให้เศร้าหมอง.

๗. สาริปุตตสังยุตต์ ประมวลเรื่องพระสารีบุตร.

๘. นาคสังยุตต์ ประมวลเรื่องนาค คือสัตว์ประเภทงู.

๙. สุปัณณสังยุตต์ ประมวลเรื่องครุฑ คือสัตว์ประเภทนก.

๑๐. คันธพพกายสังยุตต์ ประมวลเรื่องเทพพวกคนธรรพ์ คือเทพที่สิ่งอยู่ ณ กลิ่นแห่งรากไม้, แก่นไม้, กระพี้ไม้, เปลือกไม้, สะเก็ดไม้, ดอกไม้, ผลไม้, รสไม้, กลิ่นไม้.

๑๑. วลาหกสังยุตต์ ประมวลเรื่องเวลาหกคือเมฆ คือเมฆหนาว, เมฆร้อน, เมฆหมอก, เมฆลม, และเมฆฝน.

๑๒. วัจฉโคตตสังยุตต์ ประมวลเรื่องวัจฉโคตตปริพพาชก ควรดูข้อความหน้า พระสุตตันตะ เล่ม ๕ หน้า ๓ ข้อที่ ๒๑ ถึง ๒๔ ประกอบด้วย).

๑๓. สมาธิสังยุตต์ ประมวลเรื่องสมาธิ คือการทำใจให้ตั้งมั่น.

<< ย้อนกลับ || หน้าถัดไป >>


» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

🍁 "บ้าน" มรดกทางวัฒนธรรม
"บ้าน" คือการบอกเล่าความเป็นมา คือการบอกล่าวถึงพัฒนาการในการดำรงชีพของมนุษย์ "บ้าน" ที่อยู่อาศัยหนึ่งในปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ และบ่งบอกถึงความั่นคง

🍁 ภูมิปัญญากีฬาไทย
กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตำนานและความทรงจำ และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่

🍁 สะพานสู่ฟ้าใหม่
สะพานข้ามน้ำเป็นสัญลักษณ์การข้ามอุปสรรคขวางกั้นไปสู่จุดหมาย และการเชื่อมโยงสิ่งตรงข้ามมา เพื่อสร้างเอกภาพอันกลมกลืนมั่นคง

🍁 ทิวธงมงคลชัย
สิ่งสะท้อนความคิด และสืบทอดคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี ของชนรุ่นแล้วรุ่นเล่า จากยุคสมัยหนึ่งสู่อีกยุคสมัยหนึ่ง ดุจตัวแทนที่น้อมนำสู่มงคลแห่งชีวิต

🍁 พระราชลัญจกรประจำรัชกาล
ตราประจำพระมหากษัตริย์ แต่ละรัชกาล ซึ่งจะทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเริ่มต้นรัชกาล เพื่อประทับกำกับพระปรมาภิไธย ในเอกสารสำคัญต่างๆของชาติ ที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน

🍁 สามล้อไทย
วิถีหนึ่งของสายทาง ซึ่งแม้เวลาจะหมุนเวียนเปลี่ยนไป หากสายทางของสามล้อยังคงผูกพัน เป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทย

🍁 กีฬาสัตว์
ด้วยนิสัยช่างสังเกตของคนไทย จึงเป็นที่มาของกีฬาซึ่งใช้สัตว์เป็นผู้แข่งขัน จนกลายเป็นกิจกรรมบันเทิงพื้นบ้าน ยามว่างนับแต่อดีต

🍁 ตาลปัตร พัดรอง
พัดที่ทำจากใบตาลมีหลายรูปแบบ สำหรับใช้โบกให้ความเย็น และใช้เป็นการบ่งบอกถึงฐานะ บรรดาศักดิ์ของผู้ใช้

🍁 ลัทธิของค้านท์
ลัทธิที่ยึดมั่นในคุณธรรมหรือเหตุผลอย่างเคร่งครัด หรือ Moral Purism แปลว่า บริสุทธิ์นิยมทางศีลธรรม หรือบางทีก็เรียกว่า หน้าที่นิยม เพราะเน้นที่หน้าที่เป็นหลัก

🍁 ประชุมพงศาวดาร
การศึกษาหาความรู้พงศาวดาร และตำนานเก่าย่อมถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งใน การศึกษาทั่วทุกประเทศ

🍁 อปริหานิยธรรม 7
ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติ ธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์

🍁 จริยธรรม
จริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจากศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม

🍁 พุทธศาสนสุภาษิต

🍁 ภาษิต คติพจน์ ของอังกฤษ

🍁 คมคำบาดใจ

🍁 ปรัชญาชาวบ้าน

🍁 ปรัชญาจากพระคัมภีร์ไบเบิล

🍁 บทเพลงสากลจากอดีต (แปลไทย)

🍁 สุภาษิตจีน

🍁 สุภาษิตสอนหญิง

🍁 ภาษิตจีนโบราณ

🍁 ปราชญ์สอนว่า (ขงจื้อ)

🐍 โปรดระวังงูฉก

กว่าจะวิวัฒนาการเกิดมาเป็นมนุษย์

กว่าจะเจริญเติบโต
ทางกายภาพแนวขวางโลก
มาเป็นแนวตั้งฉาก

ด้วยโครงสร้างที่เหมาะสม
และสรีระที่มั่งคงรูปร่างสง่างาม
จะเดินจะวิ่งหรือเคลื่อนไหว
ล้วนสอดคล้องคล่องแคล่วสะดวกสบาย

ง่ายต่อการดำรงชีวิต
เหมาะแก่การพิทักษ์โลก

ธรรมชาติอาจจะคัดสรรไว้เพื่อการนี้
ถือเป็นเกียรติ์ที่ยิ่งใหญ่แก่วงศ์ตระกูลมนุษยชาติ

สมควรไตร่ตรองร่วมกัน.

🐍 งูเขียว หางบอบช้ำ : เขียน

เชิญแวะอ่านสักนิดสักหน่อยก็ยังดี...

🌿 ฉายเดี่ยว (รวมงานเขียน)
อย่ารอให้ผีปู่ผีย่าต้องลุกขึ้นมาเอากระโถนน้ำหมากเขกกบาล สยามของท่านให้เราอยู่กิน ไม่ได้ให้มางี่เง่ากันเยี่ยงนี้

🌿 ตำนานบันลือโลก
เรื่องสั้น : เกรียงไกร รักมิตร : เขียน
ตาเฒ่านักเล่านิทานจากไปอย่างไร้ร่องรอย คงทิ้งไว้เพียงเรื่องราว ของกระต่ายกับเต่า กับความเพ้อฝันของนักเผชิญโชค ในโลกแห่งความจริง

🌿 บันทึกทรราชย์
เรื่องสั้น : เกรียงไกร รักมิตร : เขียน
โลกยังคงหมุนตัวเองรอบดวงอาทิตย์กับบาดแผลร้าวรานที่เกิดจากการกระทำอันเป็นปิตุฆาตของมวลมนุษย์

🌿 ผมเกือบได้เป็นนักแต่งเพลงชื่อดังเสียแล้ว
เรื่องสั้น : ภูเกรียงไกร หน่อรักมิตร : เขียน
ไปไม่ถึงตึกแกรมมี่ แบบไม่มีสิ่งใดให้ต้องกังวล ที่เหลือคือความทรงจำที่ลางเลือนเต็มที ผมเกือบได้เป็นนักแต่งเพลงชื่อดังเสียแล้ว

ยังมีอีก »


ชีวิตเริ่มต้นอีกครั้งหลังเกษียณ
ภูจอมยุทธ | Podcast

ชีวิตในแบบฉบับของตัวเอง หิวก็กินง่วงก็นอน อยากทำอะไรก็ทำ เบียดเบียนสภาพแวดล้อมแต่พองาม ประสบการณ์แบ่งปันผู้คน มากบ้างน้อยบ้าง วัดกับร้านเหล้าถือเป็นสถานอโคจร ที่ต้องรักษาระยะห่าง คลิกดู👆