ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
จุลลวัคค์ (เป็นพระวินัยปิฏก)
เสนาสนขันธกะ
(หมวดว่าด้วยที่อยู่อาศัย)
การนั่งต่ำนั่งสูง
ทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้สอนที่บวชใหม่นั่งอาสนะเสมอหรือสูงกว่าได้ และให้ภิกษุผู้เป็นเถระ ( แก่กว่า) ที่เรียนนั่งอาสนะเสมอหรือต่ำกว่าได้ ด้วยความเคารพในธรรม ( ในปัจจุบันนี้ ภิกษุที่แสดงธรรมแม้พรรษาน้อยก็ขึ้นนั่งบนธรรมมาสน์สูงกว่าภิกษุทั้งปวง).
ทรงอนุญาตให้ภิกษุที่มีสิทธิในการนั่งเสมอกัน นั่งรวมกันได้ คือภิกษุที่มีพรรษาไล่เลี่ยกันภายใน ๓ ปี .
ภิกษุที่มีสิทธิในการนั่งเสมอกัน นั่งเตียงตั่งเดียวกัน เตียงตั่งพังลงมา จึงทรงจำกัดจำนวนให้นั่งไม่เกิน ๓ รูป เตียงตั่งก็ยังพังอีก จึงให้นั่งได้เพียง ๒ รูป.
ส่วนที่นั่งยาว แม้ภิกษุจะมีสิทธิในการนั่งไม่เสมอกันก็ให้นั่งรวมกันได้ เว้นแต่กระเทย , ผู้หญิง, ผู้มีอวัยวะเพศทั้งสองเพศ .
มีปัญหาว่า อย่างไรจึงจัดว่าเป็นที่นั่งยาวจึงกำหนดว่า ถ้านั่งได้ถึง ๓ คน ก็จัดเป็นที่นั่งยาวอย่างต่ำที่สุด ( มากกว่านั่นไม่มีปัญหา).
- ทรงอนุญาตที่อยู่ ๕ ชนิด
- ทรงอนุญาตที่ถ่ายปัสสาวะอุจจระ
- ทรงห้ามประพฤติอนาจาร
- ทรงอนุญาตเครื่องใช้
- เครื่องนั่งเครื่องนอน
- อนาถปิณฑิกคฤหบดีนับถือพระพุทธศาสนา
- ตั้งภิกษุผู้ควบคุมการก่อสร้าง
- ลำดับอาวุโส
- บุคคลผู้ไม่ควรไหว้ ๑๐ ประเภท
- บุคคลผู้ควรไหว้ ๓ ประเภท
- มณฑปที่สร้างอุทิศสงฆ์
- ที่นั่งต่างชนิดของคฤหัสถ์
- การถวายเชตวนาราม
- ปัญหาลำดับอาวุโสเพิ่มเติม
- การจัดสรรที่อยู่อาศัย
- การนั่งต่ำนั่งสูง
- ปราสาทและเครื่องนั่งนอนต่างๆ
- ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นอีก
- สิ่งที่จะสละ (ให้ใคร ๆ) ไม่ได้ ๕ หมวด
- การควบคุมการก่อสร้าง
- การขนย้ายของใช้และรักษาที่อยู่อาศัย
- เจ้าหน้าที่ทำการสงฆ์อื่นๆ
ขุททกวัตถุขันธกะ (หมวดว่าด้วยเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ)
เสนาสนขันธกะ (หมวดว่าด้วยที่อยู่อาศัย)
สังฆเภทขันธกะ (หมวดว่าด้วยสงฆ์แตกกัน)
วัตตขันธกะ (หมวดว่าวัตรหรือข้อปฎิบัติ)
ปาฏิโมกขฐปนขันธกะ (หมวดว่าด้วยการแสดงปาฏิโมกข์)
ภิกขุนีขันธกะ (หมวดว่าด้วยนางภิกษุณี)
ปัญจสติกขัรธกะ (หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป
ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๑)
สัตตสิกขันธกะ (หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ ๗๐๐ รูป
ในการสังคายนาครั้งที่ ๒)
พระวินัยเล่มที่
๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘