ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
จุลลวัคค์ (เป็นพระวินัยปิฏก)
เสนาสนขันธกะ
(หมวดว่าด้วยที่อยู่อาศัย)
ทรงอนุญาตที่ถ่ายปัสสาวะอุจจระ
ในเรื่องปัสสาวะ ทรงอนุญาตให้ถ่ายในที่จัดไว้ ทรงอนุญาตหม้อปัสสาวะ ที่รองเหยียบเวลานั่งถ่าย ฝาหรือกำแพงสำหรับกั้นที่ทำด้วยอิฐ, ศิลาหรือไม้ รวมทั้งฝาปิดหม้อปัสสาวะ ( เพื่อกันกลิ่นเหม็น)
ในเรื่องอุจจาระทรงอนุญาตให้ถ่ายในที่ที่จัดไว้ ให้มีหลุมอุจจาระ และให้ก่อยกพื้นให้สูง เพื่อกันน้ำท้วม ให้มีบันไดและราวบันได ให้ลาดพื้น เจาะช่องตรงกลาง ให้มีเขียงรองเหยียบ ให้มีรางปัสสาวะให้ใช้ไม้ชำระ ที่ใส่ไม้ชำระ และฝาปิดหลุ่มอุจจาระ และให้มีโรงถ่ายโดยเฉพาะ ที่เรียกว่าวัจจกุฏิ มีฝาหรือกำแพง พร้อมทั้งเครื่องประกอบ เช่น ดาล กลอน เชือกชัก ราวพาดจีวร เป็นต้น.
อนึ่ง ได้ทรงอนุญาตให้มีซุ้มสำหรับชำระ เมื่อเสร็จจากอุจจาระแล้ว ให้มีรางระบายน้ำ ให้มีหม้อน้ำชำระ ขันตักน้ำชำระ และเขียงรองขณะชำระ ตลอดจนฝาหรือกำแพง.
- ทรงอนุญาตที่อยู่ ๕ ชนิด
- ทรงอนุญาตที่ถ่ายปัสสาวะอุจจระ
- ทรงห้ามประพฤติอนาจาร
- ทรงอนุญาตเครื่องใช้
- เครื่องนั่งเครื่องนอน
- อนาถปิณฑิกคฤหบดีนับถือพระพุทธศาสนา
- ตั้งภิกษุผู้ควบคุมการก่อสร้าง
- ลำดับอาวุโส
- บุคคลผู้ไม่ควรไหว้ ๑๐ ประเภท
- บุคคลผู้ควรไหว้ ๓ ประเภท
- มณฑปที่สร้างอุทิศสงฆ์
- ที่นั่งต่างชนิดของคฤหัสถ์
- การถวายเชตวนาราม
- ปัญหาลำดับอาวุโสเพิ่มเติม
- การจัดสรรที่อยู่อาศัย
- การนั่งต่ำนั่งสูง
- ปราสาทและเครื่องนั่งนอนต่างๆ
- ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นอีก
- สิ่งที่จะสละ (ให้ใคร ๆ) ไม่ได้ ๕ หมวด
- การควบคุมการก่อสร้าง
- การขนย้ายของใช้และรักษาที่อยู่อาศัย
- เจ้าหน้าที่ทำการสงฆ์อื่นๆ
ขุททกวัตถุขันธกะ (หมวดว่าด้วยเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ)
เสนาสนขันธกะ (หมวดว่าด้วยที่อยู่อาศัย)
สังฆเภทขันธกะ (หมวดว่าด้วยสงฆ์แตกกัน)
วัตตขันธกะ (หมวดว่าวัตรหรือข้อปฎิบัติ)
ปาฏิโมกขฐปนขันธกะ (หมวดว่าด้วยการแสดงปาฏิโมกข์)
ภิกขุนีขันธกะ (หมวดว่าด้วยนางภิกษุณี)
ปัญจสติกขัรธกะ (หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป
ในการทำสังคายนาครั้งที่ ๑)
สัตตสิกขันธกะ (หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ ๗๐๐ รูป
ในการสังคายนาครั้งที่ ๒)
พระวินัยเล่มที่
๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘