ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวรรค (เป็นวินัยปิฎก)
การปฏิบัติต่อผู้ทำผิด
มีเรื่องเกิดขึ้น จึงทรงแสดงข้อปฏิบัติในกรณีนั้น ๆ คือ
๑. เมื่อภิกษุไม่เห็นอาบัติ (คือต้องอาบัติแล้ว ไม่รับว่าต้อง)
ถูกสงฆ์ประกาศยกเสียจากหมู่จึงสึกไป ภายหลังขอเข้ามาบวชใหม่,
ถ้าสอบถามแล้วยอมรับว่าต้องอาบัติจริง ก็ให้บวชได้.
เมื่อบวชแล้ว ให้ทำพิธีทำคืนอาบัติที่ต้องไว้แต่ครั้งก่อน
๒. เมื่อภิกษุไม่ทำคืนอาบัติ ถูกสงฆ์สวดประกาศยกเสียจากหมู่จึงสึกไป ภายหลังมาขอบวช ถ้ารับว่าจักทำคืนอาบัติ ก็ให้บวชได้ เมื่อบวชแล้ว ให้ทำคืนอาบัติที่ต้องไว้แต่ครั้งก่อนให้เรียบร้อย
๓. เมื่อภิกษุมีความเห็นชั่วหยาบ คือความเห็นผิดอย่างแรง ถูกสงฆ์สวดประกาศยกเสียจากหมู่จึงสึกไป ภายหลังมาขอบวช ถ้ารับว่าจักละความเห็นผิดนั้น ก็ให้บวชได้
เมื่อบวชแล้วไม่ยอมทำคืนอาบัติก็ดี ไม่ยอมสละความเห็นผิดก็ดี สงฆ์มีสิทธิประกาศยกเสียจากหมู่ได้อีก. แต่ถ้าไม่ได้ภิกษุครบองค์สงฆ์ที่จะสวดประกาศ ก็อยู่ร่วมกับเธอได้ ไม่ต้องอาบัติ.
- ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
- ลักษณะที่ไม่ควรให้บรรพชา (เป็นสามเณร) ๓๒ ประเภท
- ข้อกำหนดเรื่องให้นิสสัยเพิ่มเติม
- ข้อกำหนดเรื่องการอุปสมบท
- ข้อบัญญัติในพิธีกรรมอุปสมบท
- การปฏิบัติต่อผู้ทำผิด
มหาขันธกะ (หมวดใหญ่)
ทรงแสดงธรรมครั้งแรก
ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร
สาริบุตร โมคคัลลานะออกบวช
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
อุโบสถขันธกะ (หมวดว่าด้วยอุโบสถ)
วัสสูปนายิกาขันธกะ (หมวดวันเข้าพรรษา)
ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา)
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘