ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวรรค (เป็นวินัยปิฎก)
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
ครั้นแล้วทรงบัญัติพระวินัยแสดงลักษณะที่ไม่ควรให้บวช (อุปสมบท) บุคคล รวม ๒๐ ประเภท ดังต่อไปนี้
๑. ผู้ไม่มีอุปัชฌายะ
๒. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นสงฆ์ (อุปัชฌายะต้องมีรูปเดียว ไม่ใช่มากรูป)
๓. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นคณะ (๒,๓ ชื่อว่าเป็นคณะ, ๔ ขึ้นไปเป็นสงฆ์)
๔. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นกะเทย
๕. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นคนลักเพศ (ผู้บวชเอาเอง)
๖. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้เข้ารีตเดียรถีย์
๗. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นสัตว์ดิรัจฉาน (มีเรื่องเล่าว่า นาคปลอมมาบวช)
๘. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้ฆ่ามารดา
๙. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้ฆ่าบิดา
๑๐. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้ฆ่าพระอรหันต์
๑๑. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้ข่มขืนนางภิกษุณี
๑๒. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน
๑๓. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้ประทุษร้ายพระพุทธเจ้า จนถึงยังพระโลหิตให้ห้อ
๑๔. ผู้มีอุปัชฌายะเป็นผู้มีอวัยะ ๒ เพศ
๑๕. ผู้ไม่มีบาตร
๑๖. ผู้ไม่มีจีวร
๑๗. ผู้ไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร
๑๘. ผู้ขอยืมบาตรเขามาบวช
๑๙. ผู้ขอยืมจีวรเขามาบวช
๒๐. ผู้ขอยืมทั้งบาตรทั้งจีวรเขามาบวช
ทั้งยี่สิบประเภทนี้ ถ้า (สงฆ์) บวชให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.
- ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
- ลักษณะที่ไม่ควรให้บรรพชา (เป็นสามเณร) ๓๒ ประเภท
- ข้อกำหนดเรื่องให้นิสสัยเพิ่มเติม
- ข้อกำหนดเรื่องการอุปสมบท
- ข้อบัญญัติในพิธีกรรมอุปสมบท
- การปฏิบัติต่อผู้ทำผิด
มหาขันธกะ (หมวดใหญ่)
ทรงแสดงธรรมครั้งแรก
ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร
สาริบุตร โมคคัลลานะออกบวช
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
อุโบสถขันธกะ (หมวดว่าด้วยอุโบสถ)
วัสสูปนายิกาขันธกะ (หมวดวันเข้าพรรษา)
ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา)
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘