ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวรรค (เป็นวินัยปิฎก)
ข้อบัญญัติในพิธีกรรมอุปสมบท
ครั้นแล้วทรงแสดงวิธีการต่าง ๆ ในการอุปสมบท เช่น การสอบถามอันตรายิกธรรม (อุปสัคที่ต้องห้ามในการบวช) ๑๗ ข้อ มีโรค ๕ อย่างนั้น เป็นต้น ทั้งการซักถามเป็นส่วนตัวก่อน แล้วจึงซักถามในที่ประชุมสงฆ์ ตลอดจนการสวดประกาศ ๓ จบ แล้วอนุมัติให้เป็นภิกษุได้.
เมื่อบวชแล้ว ให้วัดเงาแดด ให้บอกฤดู ให้บอกส่วนของวัน ให้บอกสังคีติ คือบอกรวมข้างต้นทั้งหมด เพื่อเป็นหลักฐาน.
แล้วให้บอกนิสสัย ๔ (ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต ๔ อย่าง คืออาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค ซึ่งกล่าวมาแล้วข้างต้น).
แล้วให้บอกอกรณียกิจ (สิ่งที่ไม่ควรทำ) ๔ อย่าง คือการเสพเมถุน, การลักทรัพย์, การฆ่าสัตว์ และมนุษย์, การอวดคุณพิเศษที่ไม่มีในตน (เพื่อป้องกันการทำความผิดที่สำคัญในตอนแรก).
- ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
- ลักษณะที่ไม่ควรให้บรรพชา (เป็นสามเณร) ๓๒ ประเภท
- ข้อกำหนดเรื่องให้นิสสัยเพิ่มเติม
- ข้อกำหนดเรื่องการอุปสมบท
- ข้อบัญญัติในพิธีกรรมอุปสมบท
- การปฏิบัติต่อผู้ทำผิด
มหาขันธกะ (หมวดใหญ่)
ทรงแสดงธรรมครั้งแรก
ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร
สาริบุตร โมคคัลลานะออกบวช
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท (บวชเป็นพระ) อีก ๒๐ ประเภท
อุโบสถขันธกะ (หมวดว่าด้วยอุโบสถ)
วัสสูปนายิกาขันธกะ (หมวดวันเข้าพรรษา)
ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา)
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘