สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ / อ.วิชาญ

ความเป็นมาขององค์กรนิติบัญญัติ ในระบอบประชาธิปไตยของไทย

พระมหากษัตริย์ของไทยทรงริเริ่มให้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ต่างๆดังนี้

รัชกาลที่ 5

  1. ทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน,สภาองคมนตรี (การดำเนินงานของ 2สภาไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เนื่องจากสมาชิกของสภาทั้ง 2 ไม่มีความรู้ ,ขาดประชุมบ่อย , ไม่แสดงความคิดเห็น ,เกรงกลัวอิทธิพลของขุนนาง)
  2. ตรา พ.ร.บ ลักษณะการปกครองท้องที่ ร.ศ 116 (ริเริ่มเลือกตั้ง ผู้ใหญ่บ้าน,กำนัน)
  3. เลิกทาส (เป็นรากฐานในเรื่องสิทธิเสรีภาพ, ก้าวเข้าสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย)
  4. การปกครองท้องถิ่น (ตรา พ.ร.บ จัดการสุขาภิบาล)

รัชกาลที่ 6

  1. ทรงลดหย่อนโทษให้กับคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
  2. การตั้งดุสิตธานี จำลองบ้านเมืองให้มีลักษณะการปกครองแบบประชาธิปไตย(มีการเลือกผู้แทน ภายใน เรียกว่าเชษฐบุรุษ)

รัชกาลที่ 7

ทรงสถาปนาอภิรัฐมนตรี ,เสนาบดีสภา ,องค์มนตรีสภา ,ทำร่างรัฐธรรมนูญ(เตรียมพระราชทานแก่ประชาชนแต่ คณะราษฎร์ยึดอำนาจเสียก่อน)

รัฐธรรมนูญและองค์กรนิติบัญญัติของไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิ.ย 2475

ร.ธ.น 2475 สภานิติบัญญัติ เป็นสภาเดี่ยว ประกอบด้วย สมาชิก 2 ประเภท สมาชิกสภาผู้แทน สมาชิกจากการแต่งตั้ง

ความหมายของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
รูปแบบการปกครองแบบเผด็จการในระบบทุนนิยม “ฟาสซิสม์”
องค์กรนิติบัญญัติ
วิวัฒนาการทางการปกครองของประเทศอังกฤษ
ความเป็นมาขององค์กรนิติบัญญัติ ในระบอบประชาธิปไตยของไทย
ลักษณะของรัฐสภา
อำนาจหน้าที่ของรัฐสภา
การเลือกตั้ง
องค์กรบริหาร
อำนาจหน้าที่ขององค์กรบริหาร

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย