สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ / อ.วิชาญ
รูปแบบการปกครองแบบเผด็จการในระบบทุนนิยม ฟาสซิสม์
ฟาสซิสม์ เป็นการปกครองแบบเผด็จการของประเทศอุตสาหกรรม
การปกครองที่มีพรรคการเมืองพรรคเดียว
การปกครองที่จัดให้มีการโฆษณาชวนเชื่อในรูปแบบทันสมัย
พื้นฐานอันแท้จริงของเผด็จการแบบฟาสซิสม์ คือ แนวความคิดแบบอนุรักษ์นิยม
สถาบันการเมืองของเผด็จการแบบฟาสซิสม์ ได้แก่ พรรคการเมืองพรรคเดียว
การจัดตั้งสมาคมอาชีพ การโฆษณาชวนเชื่อ การปราบปรามฝ่ายตรงข้าม
ระบอบการปกครองแบบเผด็จการของประเทศที่มีระบบเศรษฐ์กิจแบบสังคมนิยม
ประเทศสังคมนิยม ยึดถือโครงสร้างในการผลิตเป็นพื้นฐานสำคัญของสังคม
โดยถือว่า เครื่องมือในการผลิตเป็นของส่วนรวม
นอกจากนี้ยังยึดถืออุดมการณ์เป็นสิ่งที่มีบทบาทสำคัญยิ่ง
เพราะอุดมการณ์เป็นความนึกคิดที่มีเหตุผลในทางวิทยาศาสตร์
และเป็นจุดเริ่มต้นของโครงสร้างการผลิต นอกจากนี้ยังยอมรับอุดมการณ์อย่างอื่นด้วย
เช่น อุดมการณ์แบบธรรมเนียมประเพณีอุดมการณ์ทางการเมือง เป็นต้น
การใช้อำนาจเผด็จการแบบปฏิวัติมีลักษณะ 2 ประการคือ
-
การใช้อำนาจเผด็จการแบบชั่วคราวที่คณะปฏิวัติจะทำหน้าที่เสมือนหนึ่งผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาล
- มุ่งกล่อมเกลา เปลี่ยนแปลงทัศนคติของประชาชนเพื่อให้ประชาชนสามารถใช้เสรีภาพและการดำรงชีวิตโดยไม่ต้องอาศัยเผด็จการ ลักษณะสำคัญของรัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยม คือ การเลือกตั้งแบบหยั่งเสียง คือการเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ
ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ
รูปแบบการปกครองแบบเผด็จการในระบบทุนนิยม ฟาสซิสม์
องค์กรนิติบัญญัติ
วิวัฒนาการทางการปกครองของประเทศอังกฤษ
ความเป็นมาขององค์กรนิติบัญญัติ ในระบอบประชาธิปไตยของไทย
ลักษณะของรัฐสภา
อำนาจหน้าที่ของรัฐสภา
การเลือกตั้ง
องค์กรบริหาร
อำนาจหน้าที่ขององค์กรบริหาร