ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวิภังค์ (เป็นวินัยปิฎก)
ปัตตวรรค
วรรคว่าด้วยบาตร
สิกขาบทที่ ๙ ปัตตวรรค
ในนิสสัคคิยกัณฑ์
ห้ามภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน
ภิกษุจำพรรษาแล้ว อยู่ในเสนาสนะป่า พวกโจรรู้ว่ามีจีวร ก็เข้าแย่ง. พระผู้มีพระภาคจึงทรงอนุญาตให้ภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในบ้านได้.
ภิกษุจึงเก็บไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน จีวรหายบ้าง หนูกัดบ้าง จึงทรงบัญญัติสิกขาบท ให้ภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรผืนใดผืนหนึ่งไว้ในบ้านได้. แต่จะอยู่ปราศจากจีวรนั้นได้ไม่เกิน ๖ คืน ถ้าเกินไป ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ (คือสงฆ์ประชุมกันสวดประกาศเป็นกรณีพิเศษ).
- ห้ามเก็บบาตรเกิน ๑ ลูกไว้เกิน ๑๐ วัน
- ห้ามขอบาตรเมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน ๕ แห่ง
- ห้ามเก็บเภสัช ๕ ไว้เกิน ๗ วัน
- ห้ามแสวงและทำผ้าอาบน้ำฝนเกินกำหนด
- ให้จีวรภิกษุอื่นแล้ว ห้ามชิงคืนในภายหลัง
- ห้ามขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร
- ห้ามไปกำหนดให้ช่างหูกทอให้ดีขึ้น
- ห้ามเก็บผ้าจำนำพรรษไว้เกินกำหนด
- ห้ามภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน
- ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อตน
นิสสัคคิยกัณฑ์
โกสิยวรรค
ปัตตวรรค
เตรสกัณฑ์
ปาจิตติยกัณฑ์
โอวาทวรรค
โภชนวรรค
อเจลกวรรค
สุราปานวรรค
สัปปาณกวรรค
สหธัมมิกวรรค
รตนวรรค
ปาฏิเทสนียกัณฑ์
เสขิยกัณฑ์
สารูป
โภชนปฏิสังยุต
ธัมมเทสนาปฏิสังยุต
ปกิณณกะ
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘