ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวิภังค์ (เป็นวินัยปิฎก)
ปัตตวรรค
วรรคว่าด้วยบาตร
สิกขาบทที่ ๗ ปัตตวรรค
ในนิสสัคคิยกัณฑ์
ห้ามไปกำหนดให้ช่างหูกทอให้ดีขึ้น
พระอุปนนทะ ศากยบุตร ทราบว่า ชายผู้หนึ่งสั่งภริยาให้จ้างช่างหูกทอจีวรถวาย จึงไปหาช่างหูกสั่งให้เขาทอ ให้ยาว ให้กว้าง ให้แน่น เป็นต้น ด้ายที่ให้ไว้เดิมไม่พอ ช่างต้องมาขอด้ายจากหญิงนั้นไปเติมอีกเท่าตัว ชายผู้สามีทราบภายหลังจึงติเตียน พระผู้มีพระภาคทรงทราบ จึงทรงบัญญัติสิกขาบท ใจความว่า ภิกษุที่เขามิได้ปวารณาไว้ก่อน ไปหาช่างหูให้ทออย่างนั้นอย่างนี้ ตนจะให้รางวัลบ้าง ครั้นพูดกับเขาแล้ว ให้แม้ของเพียงเล็กน้อยสักว่าบิณฑบาต ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์.
- ห้ามเก็บบาตรเกิน ๑ ลูกไว้เกิน ๑๐ วัน
- ห้ามขอบาตรเมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน ๕ แห่ง
- ห้ามเก็บเภสัช ๕ ไว้เกิน ๗ วัน
- ห้ามแสวงและทำผ้าอาบน้ำฝนเกินกำหนด
- ให้จีวรภิกษุอื่นแล้ว ห้ามชิงคืนในภายหลัง
- ห้ามขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร
- ห้ามไปกำหนดให้ช่างหูกทอให้ดีขึ้น
- ห้ามเก็บผ้าจำนำพรรษไว้เกินกำหนด
- ห้ามภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน
- ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อตน
นิสสัคคิยกัณฑ์
โกสิยวรรค
ปัตตวรรค
เตรสกัณฑ์
ปาจิตติยกัณฑ์
โอวาทวรรค
โภชนวรรค
อเจลกวรรค
สุราปานวรรค
สัปปาณกวรรค
สหธัมมิกวรรค
รตนวรรค
ปาฏิเทสนียกัณฑ์
เสขิยกัณฑ์
สารูป
โภชนปฏิสังยุต
ธัมมเทสนาปฏิสังยุต
ปกิณณกะ
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘