ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อมหาวิภังค์ (เป็นวินัยปิฎก)
ปัตตวรรค
วรรคว่าด้วยบาตร
สิกขาบทที่ ๓ ปัตตวรรค
ในนิสสัคคิยกัณฑ์
ห้ามเก็บเภสัช ๕ ไว้เกิน ๗ วัน
มีผู้ถวายเภสัช ๕ สำหรับคนไข้ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย แก่พระปิลินทวัจฉะ ท่านก็แบ่งให้บริษัทของท่าน (ซึ่งเป็นภิกษุ).
ภิกษุเหล่านั้นเก็บไว้ในที่ต่าง ๆ เภสัชก็ไหลเยิ้มเลอะเทอะวิหารก็มากไปด้วยหนู. คนทั้งหลายพากันติเตียน พระผู้มีพระภาคจึงทรงบัญญัติสิกขาบท ให้เก็บเภสัช ๕ ไว้บริโภคได้ไม่เกิน ๗ วัน ถ้าเกิน ๗ วัน ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์
- ห้ามเก็บบาตรเกิน ๑ ลูกไว้เกิน ๑๐ วัน
- ห้ามขอบาตรเมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน ๕ แห่ง
- ห้ามเก็บเภสัช ๕ ไว้เกิน ๗ วัน
- ห้ามแสวงและทำผ้าอาบน้ำฝนเกินกำหนด
- ให้จีวรภิกษุอื่นแล้ว ห้ามชิงคืนในภายหลัง
- ห้ามขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร
- ห้ามไปกำหนดให้ช่างหูกทอให้ดีขึ้น
- ห้ามเก็บผ้าจำนำพรรษไว้เกินกำหนด
- ห้ามภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน
- ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อตน
นิสสัคคิยกัณฑ์
โกสิยวรรค
ปัตตวรรค
เตรสกัณฑ์
ปาจิตติยกัณฑ์
โอวาทวรรค
โภชนวรรค
อเจลกวรรค
สุราปานวรรค
สัปปาณกวรรค
สหธัมมิกวรรค
รตนวรรค
ปาฏิเทสนียกัณฑ์
เสขิยกัณฑ์
สารูป
โภชนปฏิสังยุต
ธัมมเทสนาปฏิสังยุต
ปกิณณกะ
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘