ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์อินเดีย

รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม (โครงการจัดตั้ง ACT: Art Criticism & Theory)
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศิลปกรรมของอินเดียวิวัฒน์ขึ้นมาจากฐานทางด้านปรัชญาและจิตวิญญาน โดยเฉพาะของบรรดาผู้เสพ ศิลปะอินเดียได้รับการสรรค์สร้างขึ้นมาในเชิงสัญลักษณ์. ตามทัศน์ของ Kapila Vatsyayan (*) กล่าวว่า,

    (*) Kapila Vatsyayan (born December 25, 1928) is a leading scholar of classical Indian dance and Indian art and architecture. Dr. Vatsyayan received her M.A. from the University of Michigan and Ph.D. from the Banaras Hindu University. She is the author of many books including The Square and the Circle of Indian Arts, Bharata: The Natya Sastra, and Matralaksanam. She was the founder-director of the Indira Gandhi National Centre for the Arts (Indira Kalakendra) in Delhi. She has also served as secretary to the government of India and the Ministry of Education, department of Arts and Culture, in which she was responsible for the establishment of many institutions of higher education in India.

    "สถาปัตยกรรมอินเดียคลาสสิก, ประติมากรรม, จิตรกรรม, วรรณกรรม, นาฏยศิลป์(การร่ายรำ) และดุริยางคศิลป์ ล้วนพัฒนากฎเกณฑ์ของตัวเองขึ้นมาภายใต้เงื่อนไขการเป็นสื่อกลางหรือตัวแทนโดยเฉพาะของพวกมัน อย่างไรก็ตาม ศิลปกรรมเหล่านี้ได้มีส่วนร่วมในกันและกัน มิใช่เพียงความเชื่อทางจิตวิญญานที่อยู่ข้างใต้ปรัชญาศาสนาอินเดียเท่านั้น (the Indian religio-philosophic mind) แต่ยังกระทำขึ้นในลักษณะที่สัมพันธ์กับสัญลักษณ์และภาวะทางจิตวิญญาน ซึ่งต่างปรากฏออกมาในรายละเอียด”

อ่านต่อ >>>

 

ระสะ : รสชาติทางอารมณ์ความรู้สึกที่ฝังอยู่ในผลงานศิลปะ
นาฎยศาสตร์: คัมภีร์พระเวทอันดับห้า (ยุคเสื่อม)
ทฤษฎีรส พัฒนาขึ้นโดยนักสนุทรียศาสตร์แคชเมียร์
รส-ธวานิหรือข้อเสนอแนะเชิงบทกวี
ความสำคัญของ”รส” ศูนย์กลางเกี่ยวกับประสบการณ์ของมนุษย์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ”กามะ-กาม”
นาฏยศาสตร์ของภารตะมุนี และในคัมภีร์อุปนิษัท
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย