ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
สุนทรียศาสตร์อินเดีย
รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม (โครงการจัดตั้ง ACT: Art Criticism & Theory)
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นาฎยศาสตร์: คัมภีร์พระเวทอันดับห้า (ยุคเสื่อม)
ทฤษฎีรส เริ่มต้นเบ่งบานในคัมภีร์สันสกฤต นาฎยศาสตร์ (Natyashastra: natya
นาฎยา หมายถึง การละคร (drama) ส่วน shastra ศาสตรา หมายถึง ศาสตร์เกี่ยวกับ
(science of) ถือเป็นผลงานชิ้นหนึ่งของภารตะมุนี Bharata Muni ซึ่ง :
พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายประกาศว่า การละคร คือคัมภีร์พระเวทอันดับห้า( the 'Fifth
Veda') เพราะเป็นสิ่งที่เหมาะสมสำหรับยุคเสื่อม
ในฐานะที่เป็นรูปแบบที่ดีสุดของการสั่งสอนทางด้านศาสนา
ขณะที่ช่วงวันเวลาแห่งการประพันธ์ดูเหมือนจะแปรปรวนอย่างกว้างขวางท่ามกลางผู้คงแก่เรียนทั้งหลาย
เรียงลำดับจากยุคของเพลโตและอริสโตเติลจนถึงคริสตศตวรรษที่เจ็ด
(*) Bharata Muni was an ancient Indian musicologist who authored the Natya
Shastra, a theoretical treatise on ancient Indian dramaturgy and histrionics,
dated to between roughly 400 BC and 200 BC. Indian dance and music find their
root in the Natyashastra. Besides propounding the theory of three types of
acting Bharata has discussed in detail classical Indian vocal \ instrumental
music and dance since they are integral to Sanskrit drama. The classical dance
form Bharata Natyam is codified in the Natya Shastra. Bharata classified
Sanskrit theatrical forms (Natya\Rupaka) into ten types; what is known to the
west as drama is but one among these, namely, Nataka.
Bharata also outlines a set of rasas or moods / emotions which were to be
influential in defining the nature of Indian dance, music, and theater. The
Natyashastra comprises 36 chapters and it is probable that it was a creation of
many more than one scholar. Bharata is considered as the father of Indian
theatrical art forms.
คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วยคัมภีร์
4 เล่ม ได้แก่ - ฤคเวท ใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า - สามเวท
ใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า - ยชุรเวท
ว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายันและบวงสรวงต่างๆ และ - อาถรรพเวท
ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์
นักประวัติศาสตร์จำนวนมาก ถือว่าพระเวท เป็นส่วนที่เก่าที่สุดที่เหลืออยู่
สำหรับส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมีอายุราวพุทธกาล และส่วนที่เก่าสุด ราว 1,000
ปีก่อนพุทธกาล แต่นักภารตวิทยาเชื่อว่า
เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการท่องจำมาก่อนการบันทึกเป็นเวลานานมาก
ซึ่งมีหลักฐานจากลักษณะทางภาษา และบริบททางสังคมต่างๆ
คัมภีร์นาฎยศาสตร์ได้นำเสนอแนวคิดเชิงสุนทรีย์เกี่ยวกับรสต่างๆ
และความเชื่อมโยงของสิ่งเหล่านี้กับภาวะ (bhavas) ในบทที่หกและเจ็ดตามลำดับ
ซึ่งปรากฏขึ้นมาเป็นอิสระจากผลงานโดยภาพรวม. รสทั้งแปด(Eight rasas) (*)
และความเชื่อมโยงกับภาวะได้รับการกล่าวถึง
และความเพลิดเพลินเหล่านี้ถูกนำไปสัมพันธ์กับรสชาติของอาหาร(savoring a meal):
รสเป็นความเพลิดเพลินเกี่ยวกับรสชาติที่เกิดขึ้นมาจากการตระเตรียมอย่างเหมาะสมของส่วนผสม
และคุณภาพของส่วนประกอบต่างๆ
(*) Eight rasas: Bharata
Muni enunciated the eight Rasas in the Natyasastra, an ancient work of dramatic
theory. Each rasa, according to [Natyasastra]], has a presiding deity and a
specific colour. There are 4 pairs of rasas. For instance, Hasya arises out of
Sringara. The Aura of a frightened person is black, and the aura of an angry
person is red. Bharata Muni established the following:
- Songaram Love), Attractiveness. Presiding deity: Kamadaba. Colour: light green.
- Hasyam Laughter, Mirth, Comedy. Presiding deity: Pramata. Colour: white.
- Raudram Fury. Presiding deity: Rudra. Colour: red.
- Karunam Compassion, Mercy. Presiding deity: Yama. Colour: grey.
- Bibhatsam Disgust, Aversion. Presiding deity: Shiva. Colour: blue
- Bhayanakam Horror, Terror. Presiding deity: Kala. Colour: black
- Viram Heroic mood. Presiding deity: Indra. Colour: yellowish
- Adbhutam Wonder, Amazement. Presiding deity: Brahma. Colour: yellow
- Shanta deity: Vishnu. Colour: blue., or tranquility, was suggested by Abhinavagupta and had to undergo a good deal of struggle between the sixth and the tenth centuries, before it could be accepted by the majority of the Alankarikas, and the expression Navarasa (the nine rasas), could come into vogue. In addition to the nine Rasas, two more appeared later (esp. in literature
The Bhavas
The Natyasastra identifies eight rasas with eight corresponding bhava:
- Rati (Love)
- Hasya (Mirth)
- Soka (Sorrow)
- Krodha(Anger)
- Utsaha (Energy)
- Bhaya (Terror)
- Jugupsa (Disgust)
- Vismaya (Astonishment)
อันที่จริง รสในความหมายเชิงทฤษฎี คือสิ่งที่มิได้มีการสนทนาออกมาเป็นคำๆ อย่างได้ใจความในคัมภีร์นาฏยศาสตร์แต่อย่างใด จึงไม่น่าจะก่อให้เกิดความเข้าใจอย่างกระจ่างชัดนัก ตามที่บรรดาผู้ประพันธ์ปรารถนาหรือมีความรู้ได้
ระสะ : รสชาติทางอารมณ์ความรู้สึกที่ฝังอยู่ในผลงานศิลปะ
นาฎยศาสตร์: คัมภีร์พระเวทอันดับห้า (ยุคเสื่อม)
ทฤษฎีรส พัฒนาขึ้นโดยนักสนุทรียศาสตร์แคชเมียร์
รส-ธวานิหรือข้อเสนอแนะเชิงบทกวี
ความสำคัญของรส ศูนย์กลางเกี่ยวกับประสบการณ์ของมนุษย์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกามะ-กาม
นาฏยศาสตร์ของภารตะมุนี และในคัมภีร์อุปนิษัท