ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>

สุนทรียศาสตร์อินเดีย

รศ. สมเกียรติ ตั้งนโม (โครงการจัดตั้ง ACT: Art Criticism & Theory)
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ระสะ (rasa - รส): รสชาติทางอารมณ์ความรู้สึกที่ฝังอยู่ในผลงานศิลปะ

หากให้ความเอาใจใส่ไปที่เรื่องของ”การละคร”และ”วรรณคดี” โดยเฉพาะ ศัพท์คำว่า”รส”(rasa) เป็นการอ้างโดยทั่วไปถึงเรื่องเกี่ยวกับ”รสชาติทางอารมณ์ความรู้สึกที่ฝังอยู่ในผลงานศิลปะ”เหล่านี้ของผู้ประพันธ์ และความรู้สึกเพลิดเพลินโดยผู้ดูที่มีอารมณ์เข้าถึง

    บรรดานักกวี อย่าง Kalidasa (กาลิทาส) (*) ล้วนระมัดระวังและให้ความสนใจในเรื่อง”รส” ซึ่งเบ่งบานอยู่ในระบบสุนทรียศาสตร์ของอินเดียที่มีการพัฒนาอย่างเต็มที่ กระทั่งในศิลปกรรมอินเดียร่วมสมัย ศัพท์คำว่า”รส” มีความหมายตรงตัวว่า”รสชาติ” ได้ถูกนำมาใช้อย่างไม่เป็นทางการ เพื่ออรรถาธิบายถึงประสบการณ์ทางสุนทรีย์ในภาพยนตร์ต่างๆ; "masala mix" (การผสมปรุงรส) เป็นการอธิบายถึงภาพยนตร์ฮินดีอันเป็นที่ชื่นชอบ ซึ่งได้รับการเสริฟด้วยอาหารทางอารมณ์อย่างลงตัว(ดุลยภาพ) ถูกปรุงแต่งด้วย”รส”โดยบรรดาผู้ดูทั้งหลาย

    (*) Kalidasa was a renowned Classical Sanskrit writer, widely regarded as the greatest poet and dramatist in the Sanskrit language. His floruit cannot be dated with precision, but most likely falls within the Gupta period, probably in the 4th or 5th century or 6th century. His place in Sanskrit literature is akin to that of Shakespeare in English. His plays and poetry are primarily based on Hindu mythology and philosophy.

อ่านต่อ >>>

ระสะ : รสชาติทางอารมณ์ความรู้สึกที่ฝังอยู่ในผลงานศิลปะ
นาฎยศาสตร์: คัมภีร์พระเวทอันดับห้า (ยุคเสื่อม)
ทฤษฎีรส พัฒนาขึ้นโดยนักสนุทรียศาสตร์แคชเมียร์
รส-ธวานิหรือข้อเสนอแนะเชิงบทกวี
ความสำคัญของ”รส” ศูนย์กลางเกี่ยวกับประสบการณ์ของมนุษย์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ”กามะ-กาม”
นาฏยศาสตร์ของภารตะมุนี และในคัมภีร์อุปนิษัท
 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย