ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม
» พระสูตร
พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
ชื่อจุลลวัคค์ (วรรคเล็ก) เป็นวินัยปิฎก
พระเสยยสกะกับนิยสกรรม
(การถอดยศ)
พระฉันนะกับการยกเสียจากหมู่
(อุกเขปนียกรรม)
พระฉันนะต้องอาบัติแล้ว ไม่เห็นอาบัติ ความทราบถึงพระผู้มีพระภาค จึงทรงแนะให้สงฆ์ลงโทษยกเสียจากหมู่ คือไม่คบค้าด้วย ทรงแสดงลักษณะการลงโทษที่ไม่ถูกธรรมและถูกธรรม เช่นเดียวกับที่กล่าวไว้ในเรื่องตัชชนียกรรม แต่มีการเน้นว่า การลงโทษยกเสียจากหมู่นี้ เพราะภิกษุไม่เห็นอาบัติ, ไม่ทำคืนอาบัติ, ไม่เลิกละความเห็นที่ชั่ว.
และยังมีความไม่ดีข้ออื่นอีกที่ซ้ำกับตัชชนียกรรม.
แล้วทรงแสดงการเสียสิทธิ เป็นต้น เหมือนกับที่กล่าวไว้ในตัชชนียกรรม. (อนึ่ง พึงสังเกตุว่า คำว่า การเสียสิทธินั้น เป็นการพูดให้เข้าใจง่าย ในภาษาบาลีใช้คำว่า วัตร หรือข้อปฏิบัติ ๑๘ ข้อ).
- การลงโทษขับไล่
- การลงโทษให้ขอขมาคฤหัสถ์
- พระฉันนะกับการยกเสียจากหมู่
กัมมขันธกะ
พระเสยยสกะกับนิยสกรรม
ปริวาสิกขันธกะ (หมวดว่าด้วยผู้อยู่ปริวาส)
สมุจจยขันธกะ
สมถขันธกะ
อธิกรณ์ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๑
พระวินัยเล่มที่ ๒
พระวินัยเล่มที่ ๓
พระวินัยเล่มที่ ๔
พระวินัยเล่มที่ ๕
พระวินัยเล่มที่ ๖
พระวินัยเล่มที่ ๗
พระวินัยเล่มที่ ๘