ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>

สมถะวิปัสสนา

ภาวนามยญาณ

คือ สมาธิอย่างหนึ่ง คือ เอกัคตาจิตสมาธิ ๒ คือ โลกิยสมาธิ โลกุตรสมาธิ

สมาธิ ๓ คือ
สมาธิ ๔ คือ
สมาธิ ๕ คือ
สมาธิ ๖ คือ
สมาธิ ๖ คือ
สมาธิ ๘ คือ
สมาธิ ๙ คือ

สมาธิ ๑๐ คือ

๑.สมาธิมีวิตกและวิจาร ๒.สมาธิไม่มีวิตกมีแต่วิจาร ๓.สมาธิไม่มีวิตกวิจาร

๑.สมาธิมีส่วนเสื่อม ๒.สมาธิไม่มีวิตกมีแต่วิจาร ๓.สมาธิเป็นส่วนวิเศษ ๔.สมาธิเป็นส่วนชำแรกกิเลส

๑.สมาธิมีปิติแผ่ไป ๒.สมาธิมีสุขแผ่ไป ๓.สมาธิมีจิตแผ่ไป ๔.สมาธิมีแสงสว่างแผ่ไป ๕.สมาธิมีการพิจาารณาเป็นนิมิต

๑.สมาธิคือเอกัคคตาจิตไม่ฟุ้งซ่านด้วยสามารถพุทธานุสสติ ๒.ธรรมานุสสติ ๓.สังฆานุสสติ ๔.สีลานุสสติ ๕.จาคานุสสติ ๖.เทวตานุสสติ

๑.ความเป็นผู้ฉลาดในสมาธิ ๒.ความเป็นผู้ฉบาดในการเข้าสมาธิ ๓.ความเป็นผู้ฉลาดในการตั้งสมาธิ ๔.ความเป็นผู้ฉลาดในการออกสมาธิ ๕.ความเป็นผู้ฉลาดในความงามแห่งสมาธิ
๖.ความเป็นผู้ฉลาดในโคจรแห่งสมาธิ ๗.ความเป็นผู้ฉลาดในการน้อมไปแห่งสมาธิ

๑.คือสมาธิ คือเอกัคตาจิตไม่ฟุ้งซ๋านด้วยสามารถแห่งปฐวีกสิณ ๒.อาโปกสิณ ๓.เตโชกสิณ ๔.วาโยกสิณ ๕.นีลกสิณ ๖.ปีตกสิณ ๗.โลหิตกสิณ ๘.โอทาตะกสิณ

๑.รูปาวจรสมาธิส่วนเลว ๒.ส่วนปานกลาง ๓. ส่วนประณีต ๔.อรุปวจรส่วนเลว ๕.ส่วนปานกลาง ๖.ส่วนประณีต ๗.สุญญตาสมาธิ ๘.อนิมิตตสมาธิ ๙.อัปปณิหิตสมาธิ

๑.สมาธิคือเอกัคคตาจิตอันไม่ฟุ้งซ่าน ด้วยสามารถอุธมามตกสัญญา ๒.วินิลกสัญญา ๓.วิปุพพกสัญญา ๔.วิฉิททกสัญญา ๕.วิขายิตกสัญญา ๖.วิกขิตตกสัญญา ๗.หตวิขายิตกสัญญา ๘.โลหิตกสัญญา ๙.ปุฬุวกสัญญา ๑๐.อัฏฐิกสัญญา สมาธิเหล่านี้รวมเป็น ๕๐

อีกประการหนึ่ง สภาพในความเป็นสมาธิแห่งสมาธิ ๒๕ ประการ

๑.สมาธิเพราะอรรถว่าสมาธินทรีย์เป็นต้นกำหนดถือเอา
๒.เพราะอรรถว่าอินทรีย์เป้นบริวารแห่งกันและกัน
๓.เพราะอรรถว่ามีสัทธินทรีย์เป็นต้นบริบูรณ์
๔.เพราะอรรถว่ามีอารมณ์เป็นอันเดียว
๕.เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน
๖.เพราะอรรถว่าไม่แส่ไป
๗.เพราะอรรถว่าไม่ขุ่นมัว
๘.เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว
๙.เพราะอรรถว่าหลุดพ้นจากกิเลส
๑๐.เพราะความที่จิตตั้งอยู่ด้วยสามารถในความมีจิตมีอารมณ์เดียว
๑๑.เพราะอรรถว่าแสวงหาความสงบ
๑๒.เพราะอรรถว่าไม่แสวงหาธรรมอันไม่เป็นข้าศึกกับความสงบ
๑๓.เพราะแสวงหาความสงบแล้ว
๑๔.เพราะไม่แสวงหาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ
๑๕.เพราะอรรถว่ายึดมั่นความสงบ
๑๖.ไม่ยึดมั่นธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ
๑๗.เพราะยึดมั่นความสงบแล้ว
๑๘.เพราะไม่ยึดมั่นธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ
๑๙.เพราะอรรถว่าปฏิบัติสงบ
๒๐.เพราะอรรถว่าไม่ปฏิบัติสงบ
๒๑.เพราะปฏิบัติสงบแล้ว
๒๒.เพราะไม่ปฏิบัติสงบแล้ว
๒๓.เพราะอรรถว่าเพ่งความสงบ
๒๔.เผาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ
๒๕.เพราะเพ่งความสงบแล้วเพราะเผาธรรมอันเป็นข้าศึกแก่ความสงบ

เพราะอรรถว่าธรรมสงฆ์เป็นสภาพเกื้อกูลและนำความสงบมาให้สภาพในความเป็นสมาธิแห่งสมาธิ เหล่านี้รวมเป็น ๒๕

ธรรมคือตัววิปัสสนา

<< ย้อนกลับ | สารบัญ | หน้าถัดไป >>

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย