วรรณกรรม สุภาษิต ข้อคิด คำคม สำนวน โวหาร งานเขียน >>
วรรณกรรม วรรณคดี และวรรณศิลป์
วรรณคดีเป็นประณีตศิลปะ
สุนทรียภาพทางภาษา
สุนทรียะด้านการใช้คำ
สุนทรียะด้านกวีโวหาร
ประเภทของวรรณคดี
วรรณคดีกับวัฒนธรรม
วรรณคดีกับศิลปะ
วรรณคดีดนตรีและการแสดง
วรรณกรรมประเภทเรื่องสั้น
เรื่องสั้น นวนิยาย
สุนทรียะด้านการใช้คำ
1. ความไพเราะของเสียงในภาษากวี
- สัมผัส หมายถึง เสียงของคำที่มีความคล้องจองกัน
- ลีลาจังหวะ คือ ความไพเราะของสียงสูงต่ำ สั้นยาว หนักเบา ที่เกิดจากถ้อยคำ สัมผัสกระทบกระทั่งกัน และการหยุดแบ่งจังหวะออกเป็นช่วง ๆ หรือตอน ๆ สลับกันไป รวมทั้ง การใช้คำประพันธ์ให้เหมาะแก่บรรยากาศ และเนื้อความ
- การเล่นคำ
2. ความหมายของคำที่ไพเราะ ลึกซึ้ง และสะเทือนอารมณ์ เช่น คำเรียกหญิงอันเป็นที่รัก กัลยา กลอยใจ แก้วกับอก ขนิษฐา โฉมยง ทรามวัย นงลักษณ์ เสาวภาคย์ อรไท อ่อนไท้ คำเรียกดอกไม้ กุสุมาลย์ บุปผชาติ บุษบง สุมนา สุคันธชาติ สุมาลี เป็นต้น