ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>
บทนำ
ความเป็นมาพอสังเขป
ประวัติเกี่ยวกับผู้รจนา
รูปแบบและวิธีการรจนาคัมภีร์สัททนีติ
สาระสำคัญในสัททนีติ ปทมาลา
ส่วนที่เป็นเนื้อหาย่อย
เนื้อหาสาระโดยสังเขป
เนื้อหาสาระโดยสังเขป
ปริจเฉทที่ 1 สวิกรณาขยาตวิภาค การจำแนกบทขยาตที่ลงวิกรณปัจจัย
ธาตวาทิวิภาค (การจำแนกธาตุเป็นต้น ดังนี้
ความหมายของธาตุ, ลิงค์ของธาตุศัพท์, ธาตุ 8 คณะ, ปัจจัยอาขยาต 2 ประเภท,
ความหมายของปัจจัย, วจนัตถะของปัจจัย, สรูปวิกรณปัจจัย, สังคหคาถา (วิกรณปัจจัย),
สกัมมิกธาตุ อกัมมิกธาตุ
สุทฺธกตฺตุกิริยาปทนิทฺเทส (รายละเอียดบทกิริยาสุทธกัตตา) ดังนี้
อุทเทส (หัวข้อ), นิทเทส(คำอธิบาย), สังคหคาถาสรุป อ ปัจจัย
เหตุกตฺตุกิริยาปทนิทฺเทส (รายละเอียดบทกิริยาเหตุกัตตุวาจก) ดังนี้
อุทเทส
(หัวข้อ), บทกิริยาเหตุกัตตุวาจก 2 ประเภท, นิทเทส (คำอธิบาย), เอกกัมมกกิริยา,
ทวิกัมมกกิริยา
กมฺมกิริยาปทนิทฺเทส (รายละเอียดบทกิริยากรรมวาจก) ดังนี้
อุทเทส (หัวข้อ),
นิทเทส(คำอธิบาย), วิภัตติของกิริยากรรมวาจก, ลักษณะกัมมกัต
ภาวกิริยาปทนิทฺเทส (รายละเอียดบทกิริยาภาววาจก) ดังนี้
อุทเทส (หัวข้อ),
นิทเทส(คำอธิบาย), ลักษณะประโยคภาววาจก, วิภัตติของภัตตาภาววาจก, สังคหคาถา
(เกี่ยวกับกัตตาของภาววาจก), วินิจฉัยบทกิริยาภาววาจก
การกตฺตยกิริยาเภท (จำแนกกิริยาด้วยการก 3) ดังนี้
กิริยาภาววาจกลงวิภัตติทั้งฝ่ายอัตตโนบทและปรัสสบท, ปาฬิววัตถานะ
(การกำหนดวิภัตติที่ใช้ในพระบาลี), ประเภทของ ภู ธาตุ และข้อวินิจฉัยการใช้ ภู ธาตุ
ปริจเฉทที่ 2 ภวติกิริยาปทมาลาวิภาค การจำแนกปทมาลาบทกิริยาของภู ธาตุ
ดังนี้
ประเภทวิภัตติอาขยาต, ปรัสสบท + อัตตโนบท, บุรุษ 3 ประเภท, พจน์ 3
ประเภท, ความหมายของวิภัตติ, อวิภัตติกนิทเทส, อวิภัตติกนิทเทสไม่มีในบทอาขยาต,
ความหมายของปรัสสบท, ความหมายของอัตตโนบท, เอกพจน์ + พหูพจน์, เอกพจน์ 5 ประเภท,
พหูพจน์ 15 ประเภท,
ข้อกำหนดการใช้เอกพจน์ พหูพจน์ในพระบาลี, ลักษณะบทขยาต, ประเภทของกาล,
ประเภทของการก, ประเภทของบุรุษและวิธีใช้วิภัตติปฐมบุรุษเป็นต้น,
ตัวอย่างการลงวิภัตติปฐมบุรุษท้าย ภู ธาตุ, กิริยากรรมวาจกลงอาขยาตวิภัตติได้ทั้ง 3
บุรุษ, นานาวาทะเกี่ยวกับการลงวิภัตติปฐมบุรุษ, วิธีใช้วิภัตติมัชฌิมบุรุษ,
กิริยากรรมวาจกลงอาขยาตวิภัตติได้ 2 บุรุษ, วิธีใช้วิภัตติอุตตมบุรุษ,
กิริยากรรมวาจกลงอาขยาตวิภัตติได้ 2 บุรุษ, ลักษณะปโรปุริสะ, ปโรปุริสะโดยอัตถนัย,
ข้อกำหนดบทกิริยาที่ไม่ควรทำปโรปุริสะ, ลักษณะของกิริยา, วิภัตติปวิภัตติ
(การลงวิภัตติในกาลต่างๆ), ภวกิริยาปทมาลา (แบบแจก ภวติ กิริยา),
อญฺญโยคาทิกิริยาปทมาลา, อลิงฺคเภท (บทขยาตไม่มีการจำแนกลิงค์), ภวตุกิริยาปทมาลา
(แบบแจก ภวตุ กิริยา), ภเวยฺยกิริยาปทมาลา (แบบแจก ภเวยฺย กิริยา),
พภูวกิริยาปทมาลา, อภวากิริยาปทมาลา
(แบบแจก อภวา กิริยา), อภวิกิริยาปทมาลา (แบบแจก อภวิ กิริยา),
ภวิสฺสติกิริยาปทมาลา (แบบแจกภวิสฺสติ กิริยา), อภวิสฺสากิริยาปทมาลา (แบบแจก
อภวิสฺสา กิริยา)
ปริจเฉทที่ 3 ปกิณฺณกวินิจฺฉย (วินิจฉัยหลักการเบ็ดเตล็ด)
หลักวินิจฉัยศัพท์ 9 ประการ ดังนี้
1. อัตถุทธาระ ศัพท์มีเสียงพ้องกัน 8 ลักษณะ ดังนี้
เสียงพ้องกันความหมายต่างกัน, เสียงพ้องกันปวัตตินิมิตต่างกัน,
เสียงพ้องกันลิงค์ต่างกัน, เสียงพ้องกันวิภัตติต่างกัน, เสียงพ้องกันพจน์ต่างกัน,
เสียงพ้องกันวิภัตติ พจน์ การันต์ต่างกัน, เสียงพ้องกันกาลต่างกัน,
เสียงพ้องกันสถานภาพต่างกัน, บทสรุปศัพท์เสียงพ้องกัน 8 ลักษณะ
สัททัตถุทธาระ (วิธีจำแนกอัตถุทธาระของศัพท์) ดังนี้
วิธีจำแนกอัตถุทธาระของ โภติ ศัพท์, วิธีจำแนกอัตถุทธาระของ ภเว บทกิริยา, ภเว
ศัพท์มีอรรถ 5 หรือ 6, วิธีจำแนกอัตถุทธาระของ ภเว บทนาม, คำชี้แจงเรื่อง โภติ
ศัพท์เป็นต้น
2. อตฺถสทฺทจินฺตา (การวิเคราะห์อรรถและศัพท์) ดังนี้
วิเสสศัพท์ สามัญศัพท์, หลักการวิเคราะห์วิเสสศัพท์และอรรถของวิเสสศัพท์,
หลักการวิเคราะห์สามัญศัพท์และอรรถของสามัญศัพท์,
ตังอย่างการวิเคราะห์อรรถและศัพท์ที่ศัพท์เส็จมาจาก ภู ธาตุ
สมานสุติสทฺทวินิจฉย ดังนี้
ข้อกำหนดหลักการออกเสียงของสมานสุติศัพท์,
หลักการจับความหมายของศัพท์ 18 ประการ
อสมานสุติสทฺทวินิจฉย
วินิจฉัยอสมานสุติศัพท์กับระยะการออกเสียง,
ข้อกำหนดหลักการออกเสียงของสมานสุติศัพท์, วิธีการออกเสียงอสมานสุติศัพท์ที่คู่กับ
จ ปน ศัพท์เป็นต้น
3. อตฺถาติสยโยค ดังนี้
การนำความหมายพิเศษของธาตุมาใช้
4. สมานาสมานวเสน วจนสงฺคห ดังนี้
การประมวลวิภัตติที่มีรูปเหมือนกันและไม่เหมือนกัน
5. อาคมลกฺขณวเสน วิภตฺติวจนสงฺคห ดังนี้
การประมวลวิภัตติและพจน์โดยถือการลงอาคมเป็นเกณฑ์
6. กาลวเสน วิภตฺติวจนสงฺคห ดังนี้
การประมวลวิภัตติและพจน์โดยถือกาลเป็นเกณฑ์, การประมวลวิภัตติและพจน์โดยถือกาล 3
เป็นเกณฑ์, การประมวลวิภัตติและพจน์โดยถือกาล 6 เป็นเกณฑ์
7. กาลสงฺคห (การประมวลกาล) ดังนี้
การประมวลกาล 3,
การประมวลกาล 4,การประมวลกาล 6,ตัวอย่างกาลาติปัตติในอรรถอดีตกาล,
วิธีจัดลำดับวิภัตติ, สาเหตุที่เรียงกาลเป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน, สรุปประเภทกาล
8. ปกรณสํสนฺทน (การเทียบเคียงกับคัมภีร์อื่น) ดังนี้
จำนวน/ลำดับวิภัตติตามมติคัมภีร์กาตันตระ/กัจจายนะ,
ข้อกำหนดการเรียงลำดับวิภัตติ, วินิจฉัยลำดับวิภัตติในคัมภีร์กาตันตระ,
วินิจฉัยลำดับวิภัตติในคัมภีร์กัจจายนะ
9. วตฺตมานาทีนํ วจนตฺถวิภาวนา ดังนี้
การตั้งวจนัตถะ [
วิเคราะห์] ของหมวดวิภัตติต่าง ๆ
ปริจเฉทที่ 4 ภูธาตุมยนามิกรูปวิภาค การจำแนกรูปบทนามที่สำเร็จมาจาก ภู
ธาตุ ดังนี้
อุทเทสของศัพท์นิยตปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุมี 6 การันต์,
ศัพท์ปุงลิงค์ 7 การันต์, อุทเทสแห่งอนิยตปุงลิงค์,
อุทเทสแห่งนิยตอิตถีลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุมี 4 การันต์, ศัพท์อิตถีลิงค์ 5,6
การันต์, อุทเทสแห่งอนิยตอิตถีลิงค์, อุทเทสแห่งนิยตนปุงสกลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู
ธาตุมี 3 การันต์, อุทเทสแห่งอนิยตนปุงสกลิงค์
นิยตปุงฺลิงฺคนิทฺเทส ดังนี้
รายละเอียดโอการันต์ปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
วิธีอธิบายศัพท์ 5 วิธี ดังนี้
ภูต ศัพท์, ศัพท์ที่มีความหมายว่า สัตว์, ภาวก ศัพท์, ภว ศัพท์,
อัตถุทธาระของ ภว ศัพท์, อภว ศัพท์, ภาว ศัพท์, อภาว ศัพท์, สภาว ศัพท์, สพฺภว
ศัพท์, สมฺภว ศัพท์ และ ปภว ศัพท์, สาธนะ 6 หรือ 7 ใน ภู ธาตุ, สาธนะก็คือ การกะ,
ความสำคัญของสาธนะ, ปภาว และ อนุภว ศัพท์, อานุภาว ศัพท์, ปราภว ศัพท์, วิภว
ศัพท์คำไวพจน์ของ วิภว ศัพท์, อัตถุทธาระของ วิภว ศัพท์, ปาตุภาว และ วินาภาว
ศัพท์, ติโรภาว และ วินาภาว ศัพท์, โสตฺถิภาว ศัพท์
รายละเอียดของอาการันต์ปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
รายละเอียดของนิคคหีตันตปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ , ภวํ ศัพท์, ปราภว
ศัพท์
รายละเอียดของอิการันต์ปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ, ธนภูติ ศัพท์เป็นต้น
รายละเอียดของอีการันต์ปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ, ภาวี ศัพท์เป็นต้น,
ประมวลคำศัพท์ที่แปลว่า บัณฑิต
รายละเอียดของอูการันต์ปุงลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
สยมฺภู ศัพท์, ประมวลคำศัพท์ที่แปลว่า พระพุทธเจ้า, คำศัพท์มีใช้ 2
ลักษณะ, วิธีบัญญัติคำศัพท์ใหม่, ปภู ศัพท์, อภิภู ศัพท์, วิภู ศัพท์, อธิภู ศัพท์,
ปติภู ศัพท์, โคตฺรภู ศัพท์, วตฺรภู ศัพท์, ปราภิภู ศัพท์
อนิยตปุงฺลิงฺคนิทฺเทส ดังนี้
กลุ่มศัพท์อนิยตลิงค์ที่ถูกจัดเข้าในนิยตลิงค์, ภูต ศัพท์, ปราภูต และ สมฺภูต
ศัพท์, สมฺภูต ศัพท์, ปาตุภูต ศัพท์เป็นต้น, อทฺธภูต ศัพท์, อนุภูต ศัพท์เป็นต้น,
สมฺภาวิต ศัพท์, มนํปริภูต, มนํ ศัพท์ 2 ประเภท, ปริภวิตพฺพ,ปริโภตฺตพฺพ เป็นต้น,
ภมาน ศัพท์, วิภวมาน,ปริภวมาน เป็นต้น, ปริภวิยมาน เป็นต้น
นิยตอิตฺถิลิงฺนิทฺเทส ดังนี้
รายละเอียดอาการันต์อิตถีลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
ภูมิ ศัพท์, ศัพท์ที่มีอรรถว่า แผ่นดิน, ภูติ, วิภูติ ศัพท์
รายละเอียดอีการันต์อิตถีลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
ภูรี ศัพท์, คำที่เป็นไวพจน์ของ ปญฺญา ศัพท์, ภูติ,โภตี ศัพท์,
วิภาวนี, ปริวิภาวินี ศัพท์
รายละเอียดอูการันต์อิตถีลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
ภู, อภู ศัพท์, คำชี้แจงอนิยตอิตถีลิงคนิทเทส
นิยตนปุงฺสกลิงฺคนิทฺเทส ดังนี้
ภูต ศัพท์, หลักการใช้ ภูต ศัพท์, ภวิตฺต ศัพท์, ภูน,ภวน,ปราภวน
ศัพท์เป็นต้น
รายละเอียดอิการันต์นปุงสกลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ , อตฺถภาวิ,ธมฺมภาวิ
ศัพท์
รายละเอียดอุการันต์นปุงสกลิงค์ที่สำเร็จมาจาก ภู ธาตุ
โคตฺรภุ ศัพท์, วิธีใช้ โคตฺรภุ และ โคตฺรภู ศัพท์, จิตฺตสหภุ และ
นจิตฺตสหภุ ศัพท์, คำชี้แจงอนิยตนปุงสกลิงค์นิทเทส
ปริจเฉทที่ 5 โอการนฺตปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลาวิภาค
(แบบแจกบทนามโอการันต์ปุงลิงค์) ดังนี้
ปุริสสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปุริส) ตามมตินิรุตติปิฎก ดังนี้
ข้อสังเกตการใช้โภ ศัพท์ตามมตินิรุตติปิฎกและจูฬนิรุตติ,
รูปศัพท์เหมือนกันมีหน้าที่ต่างกัน, โภ นิบาตเป็นได้ 2 พจน์, มติอาจารย์บางท่าน
เรื่องการออกเสียงอาลปนะ, พหูพจน์, ปุถุพจน์, อเนกพจน์, ทวิพจน์ไม่มีในพระบาลี,
ข้อโต้แย้งเรื่องทวิพจน์
ภูตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภูต ศัพท์) ตามมติสัททนีติ ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน ภูต ศัพท์, โอโรธ (นางสนม) เป็นปุงลิงค์หรืออิตถีลิงค์,
บทสรรพนาม/วิเสสนะมีลิงค์ไม่คล้อยตามบทประธานบ้าง คล้อยตามบ้าง, ลิงค์,การันต์ของ
เสยฺย ศัพท์,โอโรธ ศัพท์เป็นปุงลิงค์, มาตุคาม,โอโรธ,ทาร ศัพท์เป็นปุงลิงค์,
พจน์ของ ทาร ศัพท์, ลิงค์และพจน์ของ ทาร ศัพท์ที่เข้าสมาส, ศัพท์แจกตาม ปริส ศัพท์
3 ประเภท, มโนคณะ 16 ศัพท์
มนสทฺทปทมาลา (แบบแจก มน ศัพท์) ปุงลิงค์ ดังนี้
มนสทฺทปทมาลา (แบบแจก
มน ศัพท์) นปุงสกลิงค์ ดังนี้
วินิจฉัยลิงค์ของ มโน ศัพท์, มน ศัพท์ 2 ประเภท,
บทวิเสสนะใช้ลิงค์ต่างกันกับบทวิเสสนะบ้าง, นามิกปทมาลาและข้อวินิจฉัยของ สร
ศัพท์เป็นต้น
สรสทฺทปทมาลา (แบบแจกของ สร ศัพท์) นัยที่ 1
สรสทฺทปทมาลา (แบบแจกของ
สร ศัพท์) นัยที่ 2
วย ศัพท์, เจต ศัพท์, ยส ศัพท์, นามิกปทมาลาของ อยฺย ศัพท์, พจน์ของ อยฺโย
ศัพท์, นามิกปทมาลาของ โค ศัพท์
โคสทฺทปทมาลา (แบบแจก โค ศัพท์) ดังนี้
แบบแจก โค ศัพท์ที่เข้าสมาส,
วินิจฉัย ปุงฺคว ศัพท์
มโนคณาทิคณะ ดังนี้
วินิจฉัยลิงค์และพจน์ของ อาป ศัพท์,
อาปสทฺทปทมาลา (แบบแจก อาป ศัพท์), ข้อสังเกต, ตัวอย่าง มโนคณะ, มโนคณาทิคณะ,
อมโนคณะ, ลักษณะของ มโนคณะ, ลักษณะของมโนคณาทิคณะ นัยที่ 1, ลักษณะของมโนคณาทิคณะ
นัยที่ 2, คำทักท้วงเกี่ยวกับ วายุ ศัพท์, ลักษณะของอมโนคณะ นัยที่ 1 ,
ลักษณะของอมโนคณะ นัยที่ 2 , วินิจฉัยปทมาลาของศัพท์มโนคณะที่เป็นสมาส
วิธีแจกมโนคณะที่เป็นบทสมาส ดังนี้
แบบแจกที่เป็นพหุพพีหิสมาส (ลง ส อาคม), แบบแจกที่เป็นพหุพพีหิสมาส
(ไม่ลง ส อาคม), แบบแจกที่เป็นสมาสอื่น, รูปวิเคราะห์และปทมาลา มานส ศัพท์เป็นต้น,
รูปเป็นพิเศษปฐมาวิภัตติ (แปลง สิ,โย เป็นเอ), คำทักท้วงบทว่า วนปฺปคุมฺเพ
ความสับสน 3 ประการ ดังนี้
ความสับสนในศัพท์, ความสับสนในอรรถ,
ความสับสนในการจับความมุ่งหมาย,
ศัพท์ที่มีเสียงพ้องกันแต่มีอรรถต่างกันด้วยอำนาจหน้าที่เป็นต้น,
ฐานะการแปลง/ไม่แปลง ส จตุตถีวิภัตติเป็น อาย, ฐานะการแปลง ส เป็นอาย 4,
วินิจฉัยบทว่า นโม พุทฺธาย, ตัวอย่างการแปลง ส เป็น อาย ตามนยะพระบาลี, อรรถกถา,
สังคหคาถาเกี่ยวกับการแปลง ส เป็น อาย
ปริจเฉทที่ 6 อาการนฺตปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลา ดังนี้
แบบแจกบทนามอาการันต์ปุงลิงค์ ดังนี้
แบบแจกอาการันต์ปุงลิงค์ตามมติจูฬนิรุตติ
สตฺถุสทฺทปทมาลา (แบบแจก สตฺถุ ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจกของ สตฺถุ
ศัพท์, หลักฐานการใช้รูปว่า สตฺถา ฝ่ายพหูพจน์, หลักฐานการใช้รูปว่า สตฺถาเร
เป็นต้น, รูปพิเศษของ สตฺถุ ศัพท์ (สตฺถูนํ),
แบบแจกอาการันต์ปุงลิงค์ตามมติสัททนีติ
อภิภิวิตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก อภิภวิตุ ศัพท์) ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน สตฺถุ
ศัพท์, รูปพิเศษของ กตฺตุ ศัพท์เป็นต้น
ปิตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปิตุ ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก ปิตุ ศัพท์,
วินิจฉัยการันต์ของ สตฺถุ ศัพท์เป็นต้น, การแปลง อุ เป็น อาร 3 ฐานะ,
อาการันต์ปุงลิงค์ที่นิยมใช้คู่กับทุติยาวิภัตติ,
อาการันต์ปุงลิงค์ที่นิยมใช้คู่กับฉัฏฐีวิภัตติ,
อาการันต์ปุงลิงค์ที่นิยมใช้คู่กับทุติยาวิภัตติและฉัฏฐีวิภัตติ, องค์ประกอบ 3
ประการที่ทำให้เป็นผู้เชี่ยวชาญศัพท์และอรรถ, กลุ่มศัพท์ที่ลง วนฺตุ ปัจจัย,
กลุ่มศัพท์ที่ลง มนฺตุ, อิมนฺตุ ปัจจัย
คุณวนฺตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก คุณวนฺตุ ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก
คุณวนฺตุ, บทว่า คุณวา เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์, ศัพท์ที่ลง วนฺตุ
ปัจจัยเมื่อใช้เป็นอาลปนะเอกพจน์ มีรูปเป็นทีฆะ, ศัพท์ที่ลง มนฺตุ อิมนฺตุ
ปัจจัยเมื่อใช้เป็นอาลปนะเอกพจน์ มีรูปเป็นรัสสะ, คุณวนฺตา เป็นต้นไม่มีในพระบาลี,
รูปอาลปนะพิเศษของศัพท์ที่ลง วนฺตุ, มนฺตุ ปัจจัย, รูปพิเศษในปัญจมีวิภัตติของ
คุณวนฺตุ เป็นต้น, วิทฺวา,เวทนาวา ศัพท์, ยสสฺสิวา ศัพท์, อตฺถทสฺสิมา ศัพท์,
ปาปิมา,ปุตฺติมา ศัพท์, จนฺทิมา ศัพท์,
ปาปิมา, ปุตฺติมา, จนฺทิมา ลง มนฺตุ หรือ อิมนฺตุ ปัจจัย,
รูปพิเศษของศัพท์ที่ลง วนฺตุ,มนฺตุ ปัจจัยในพระบาลี, วิธีใช้ อายสฺมนฺตุ ศัพท์,
หิมวนฺตุ เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์, อิทธิพลของลิงค์และการันต์
ราชสทฺทปทมาลา (แบบแจก ราช ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจกของ ราช ศัพท์,
รูปว่า ราชา เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์, หลักฐานการใช้รูปว่า
ราชํ,ราชินา,ราชานํ, วินิจฉัยรูปว่า ราเชน, ราเชหิ,ราเชภิ,ราเชสุ, แบบแจก ราช
ศัพท์ที่เข้าสมาส, วินิจฉัยบทว่า มหาราโช
มหาราชสทฺทปทมาลา (แบบแจก มหาราช) โอการันต์ ดังนี้
มหาราช อาลปนะ
ตามมติกัจจายนะและจูฬนิรุตติ
มหาราชาสทฺทปทมาลา (แบบแจก มหาราช) อาการันต์ ดังนี้
มหาราชา
อาลปนะตามมติกัจจายนะและจูฬนิรุตติ, แบบแจกพิเศษ
มหาราช(อาการันต์+โอการันต์+บทกิริยา),
วิธีนำพระบาลีมาแสดงเป็นตัวอย่างในคัมภีร์ไวยากรณ์
พฺรหฺมสทฺทปทมาลา (แบบแจก พฺรหฺม ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก พฺรหฺม
ศัพท์
สขาสทฺทปทมาลา (แบบแจก สขา ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก สขา ศัพท์,
รูปว่า สขา เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์
อตฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก อตฺต ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก
อตฺต ศัพท์, หลักฐานการใช้รูปว่า อตฺตํ เป็นต้น
อาตุมสทฺทปทมาลา (แบบแจก อาตุม ศัพท์)
สาสทฺทปทมาลา (แบบแจก สา
ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก สา ศัพท์, วินิจฉัยแบบแจก สา ศัพท์กับ ส ศัพท์,
วิจารณ์แบบแจก สา ศัพท์ที่มาในคัมภีร์ปทรูปสิทธิ, สา
ศัพท์ที่เป็นอิตถีลิงค์, วิจารณ์รูปว่า สาหิ, สาภิ, สสฺส, วิจารณ์รูปว่า สาย,
หลักการสังเกตความหมายของศัพท์ที่มีหลายอรรถ
ปุมสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปุม ศัพท์) อาการันต์ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก ปุม
ศัพท์, หลักฐานการใช้รูปว่า ปุมา ฝ่ายพหูพจน์
ปุมสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปุม ศัพท์)โอการันต์
ปุมมิสฺสกสทฺทปทมาลา (แบบแจกผสม
ปุม ศัพท์) อา+โอ การันต์
รหสทฺทปทมาลา (แบบแจก รห ศัพท์)
ทฬฺหธมฺมสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทฬฺหธมฺม
ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยการันต์ของ ทฬฺหธมฺม ศัพท์
ทฬฺหธมฺมมิสฺสกสทฺทปทมาลา (แบบแจกผสม
ทฬฺหธมฺม)
วิวฏจฺฉทสทฺทปทมาลา (แบบแจก วิวฏจฺฉท ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยการันต์ของ
วิวฏจฺฉท ศัพท์
วตฺตหสทฺทปทมาลา (แบบแจกของ วตฺตห ศัพท์)
วุตฺตสิรสทฺทปทมาลา (แบบแจกของ
วุตฺตสิร ศัพท์
ยุวสทฺทปทมาลา แจกตาม อาการันต์บางวิภัตติ
ยุวสทฺทปทมาลา แจกตาม
โอการันต์ทุกวิภัตติ
มฆวสทฺทปทมาลา (แบบแจก มฆว ศัพท์) ดังนี้ บทว่า อทฺธา กับ อทฺธา นิบาต
อทฺธสทฺทปทมาลา (แบบแจก อทฺธ ศัพท์) ดังนี้ ข้อสังเกตบทว่า อทฺธานํ
มุทฺธสทฺทปทมาลา (แบบแจก มุทฺธ ศัพท์)
ปริจเฉทที่ 7 นิคฺคหีตนฺตาทิปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลา ดังนี้
แบบแจกบทนามนิคคหีตันตปุงลิงค์เป็นต้น ดังนี้
กลุ่มศัพท์นิคคหีตันตปุงลิงค์, แบบแจกนิคคหีตันตปุงลิงค์ตามมติจูฬนิรุตติ
คจฺฉนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก คจฺฉนฺต ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจกของ คจฺฉนฺต ศัพท์, บทว่า คจฺฉนฺโต,คจฺฉํ
ตามมติจูฬนิรุตติและเกจิอาจารย์, บทว่า คจฺฉนฺโต,คจฺฉํ ตามมติสัททนีติ, บทว่า
มหนฺโต,ภวนฺโต เป็นต้นตามมตินิรุตติปิฎก, วินิจฉัยพจน์บทว่า ภวนฺโต และบทว่า มหนฺโต
เป็นต้น
ภวนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภวนฺต ในอรรถว่า เจริญ, มีเป็น) ดังนี้
ความหมายของบทว่า ภวํ, ภวนฺต แจกตาม ปุริส, จิตฺต, ลักษณะพิเศษในการใช้พจน์ของบทว่า
ภวํ และ ภวนฺโต
ภวนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภวนฺต ในอรรถว่า ท่าน บุรุษที่ 3)
ตัวอย่างของ ภวํ
ที่เป็นนาม, หลักการใช้ โภ นิบาต, วิสัยแห่งอาลปนะ 3 ชนิด
กโรนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก กโรนฺต ศัพท์) ปุงลิงค์ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก
กโรนฺต ศัพท์
อรหนฺตสทฺทปทมาลา คุณศัพท์ = ผู้ควรแก่การบูชา
อรหนฺตสทฺทปทมาลา นามบัญญัติ
= พระอรหันต์ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจกของ อรหนฺต ศัพท์, วิธีใช้ อรหนฺต
ศัพท์ในกรณีที่เป็นอิตถีลิงค์และนปุงสกลิงค์
สนฺตสทฺทปทมาลา แบบที่ 1 ดังนี้
แบบแจก สนฺต นามศัพท์ ในอรรถว่า
สัตบุรุษ,พระอริย,บัณฑิต, วินิจฉัยแบบแจก สนฺต นามศัพท์
อสนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก อสนฺต ศัพท์) ดังนี้
ลักษณะพิเศษการใช้พจน์บทว่า
สนฺโต, อสนฺโต
สนฺตสทฺทปทมาลา แบบที่ 2 ดังนี้
แบบแจก สนฺต กิริยาศัพท์ ในอรรถว่า มีอยู่,
ปรากฏอยู่, วินิจฉัยแบบแจก สนฺต กิริยาศัพท์
สนฺตสทฺทปทมาลา แบบที่ 3 ดังนี้
แบบแจก สนฺต กิริยาศัพท์ ในอรรถว่า
เหนื่อย,สงบ,ดับ, วิธีแจก สนฺต กิริยาศัพท์ นปุงสกลิงค์, วิธีแจก สนฺต กิริยาศัพท์
อิตถีลิงค์, สรุปหลักการใช้ สนฺโต, สนฺตา
มหนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก มหนฺต ศัพท์) มติสัททนีติ ดังนี้
แบบแจก มหนฺต
ศัพท์อีกนัยหนึ่ง, วินิจฉัยบทว่า มหนฺตี ในคัมภีร์กัจจายนะ, มหา ศัพท์กับคำทักท้วง,
มหา ศัพท์แจกได้ 3 ลิงค์, มหา ศัพท์ในบทสมาสและตัทธิต
คจฺฉนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก คจฺฉนฺต ศัพท์) มติสัททนีติ ดังนี้
วินิจฉัยบทว่า คจฺฉนฺโต, คจฺฉํ เป็นต้น, วิธีเปลี่ยนลิงค์,วิภัตติ,พจน์ของบทว่า
ชานํ เป็นต้นที่มีรูปเดียว, สังคหคาถา ภวํ,กรํ,อรหํ,สํ,มหํ
อิการนฺตปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอิการันต์ปุงลิงค์
อคฺคิสทฺทปทมาลา (แบบแจก อคฺคิ ศัพท์) มติจูฬนิรุตติ
ธนภูติสทฺทปทมาลา (แบบแจก ธนภูติ ศัพท์) มติสัททนีติ ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน
ธนภูติ, รูปพิเศษของ อธิปติ,คหปติ,ชานิปติ,อิสิ,มุนิ, วินิจฉัย อคฺคินิ,คินิ ศัพท์
อคฺคินิสทฺทปทมาลา (แบบแจก อคฺคินิ ศัพท์) ตามนัยพระบาลี
คินิสทฺทปทมาลา
(แบบแจก คินิ ศัพท์) ตามนัยพระบาลี ดังนี้
วินิจฉัย อคฺคินิ ศัพท์อีกนัยหนึ่ง, วินิจฉัย อคฺคินิ ศัพท์ในคัมภีร์กัจจายนะ
อีการนฺตปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอีการันต์ปุงลิงค์
ทณฺฑีสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทณฺฑี ศัพท์) มติจูฬนิรุตติ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก ทณฺฑี ศัพท์
ภาวีสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภาวี ศัพท์)
มติสัททนีติ ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน ภาวี ศัพท์, รูปพิเศษของ วชฺชทสฺสินํ, ปาณิเน เป็นต้น
อุการนฺตปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอุการันต์ปุงลิงค์
ภิกฺขุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภิกฺขุ ศัพท์) ดังนี้
เหตุโย,เหตุยา
คือรูปพิเศษของ เหตุ ศัพท์
ชนฺตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ชนฺตุ ศัพท์)
ครุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ครุ
ศัพท์) ดังนี้
รูปพิเศษของ ครุ และหลักการใช้ ภิกฺขเว, ภิกฺขโว
อูการนฺตปุลฺลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอูการันต์ปุงลิงค์
สยมฺภูสทฺทปทมาลา (แบบแจก สยมฺภู ศัพท์)
สพฺพญฺญูสทฺทปทมาลา (แบบแจก
สพฺพญฺญู ศัพท์) ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน สยมฺภู, วินิจฉัยแบบแจกของ สยมฺภู ศัพท์,
วิธีใช้ศัพท์อูการันต์ปุงลิงค์เป็นอิตถีลิงค์และนปุงสกลิงค์
ปริจเฉทที่ 8 อิตฺถิลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอิตถีลิงค์
อาการนฺตอิตฺถิลิงฺค (แบบแจกบทนามอาการันต์อิตถีลิงค์)
กญฺญาสทฺทปทมาลา (แบบแจก กญฺญา ศัพท์) มติสัททนีติ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก กญฺญา ศัพท์
ภาวิกาสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภาวิกา ศัพท์) ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน ภาวิกา,
แบบแจกพิเศษของ ปริสา และอมฺมา
แบบแจกอาการันต์อิตถีลิงค์ที่มีศัพท์เดิมเป็นอุ การันต์
มาตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก มาตุ ศัพท์) ดังนี้
หลักฐานการใช้รูปว่า
มาตุยา, มตฺยา
ธีตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ธีตุ ศัพท์) ดังนี้
หลักฐานการใช้รูปว่า ธีตํ,
หลักฐานการใช้รูปว่า เสฏฺฐิธีตรา, แบบแจกพิเศษของ มาตุ,ธีตุ ที่เป็นบทสมาส,
วินิจฉัยลิงค์ของ นตฺตุ ศัพท์
นตฺตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก นตฺตุ ศัพท์)
วินิจฉัยแบบแจกของ นตฺตุ ศัพท์
อิการนฺตอิตฺถิลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอิการันต์อิตถีลิงค์
รตฺติสทฺทปทมาลา แบบที่ 1
แบบแจก รตฺติ ศัพท์ตามมติพระยมกเถระ, ศัพท์แจกเหมือน รตฺติ ศัพท์,
แบบแจกพิเศษของ รตฺติ,ภูมิ,นาภิ ศัพท์เป็นต้น
รตฺติสทฺทปทมาลา (แบบแจก รตฺติ ศัพท์) แบบที่ 2
นาภิสทฺทปทมาลา แบบแจก นาภิ
ศัพท์ตามแบบ รตฺติ ศัพท์แบบที่ 2
โพธิสทฺทปทมาลา แบบแจก โพธิ ศัพท์ตามแบบ รตฺติ ศัพท์แบบที่ 2
อีการนฺตอิตฺถิลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอีการันต์อิตถีลิงค์
อิตฺถีสทฺทปทมาลา แบบแจก อิตฺถี ศัพท์ตามมติพระยมกเถระ ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน อิตฺถี ศัพท์, รูปพิเศษของศัพท์อีการันต์บางศัพท์,
หลักฐานการใช้รูปว่า โปกฺขรญฺโญ เป็นต้น
โปกฺขรณีสทฺทปทมาลา (แบบแจก โปกฺขรณี ศัพท์)
ทาสีสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทาสี
ศัพท์) ดังนี้ วินิจฉัยรูปว่า ทาสิยํ
พฺราหฺมณีสทฺทปทมาลา (แบบแจก พฺราหฺมณี ศัพท์)
นทีสทฺทปทมาลา (แบบแจก นที
ศัพท์)
กุสาวตีสทฺทปทมาลา (แบบแจก กุสาวตี ศัพท์)
พาราณสีสทฺทปทมาลา (แบบแจก
พาราณสี ศัพท์)
นฬินีสทฺทปทมาลา (แบบแจก นฬีนี ศัพท์) ดังนี้
รูปพิเศษของ กุสาวตี
ศัพท์เป็นต้นในพระคาถา, กฏเกณฑ์พิเศษรูปวิภัตติท้ายศัพท์อิตถีลิงค์
จนฺทวตีสทฺทปทมาลา (แบบแจก จนฺทวตี ศัพท์)
อุการนฺตอิตฺถิลิงฺคนามิกปทมาลา
แบบแจกบทนามอุการันต์อิตถีลิงค์
ยาคุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ยาคุ ศัพท์) ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน ยาคุ ศัพท์,
วินิจฉัยลิงค์และอรรถของ ธาตุ ศัพท์
อูการนฺตอิตฺถิลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอูการันต์อิตถีลิงค์
ชมฺพูสทฺทปทมาลา (แบบแจก ชมฺพู ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยลิงค์ของ ชมฺพู, ชมฺพุก ศัพท์
ภูสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภู ศัพท์)
ดังนี้
ศัพท์แจกเหมือน ชมฺพู ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ วทญฺญู ศัพท์
โอการนฺตอิตฺถิลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามโอการันต์อิตถีลิงค์ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก โค ศัพท์ในคัมภีร์ปทรูปสิทธิ
แบบแจก โค ศัพท์ 3 แบบ
ดังนี้
แบบแจกที่ 1 คาวีสทฺทปทมาลา, แบบแจกที่ 2 โคสทฺทปทมาลา, แบบแจกที่ 3
โคสทฺทปทมาลา, วิธีสำเร็จรูป คาวี,คาวี,คาวึ
ธาตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ธาตุ ศัพท์) ปุงลิงค์
ธาตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก ธาตุ
ศัพท์) อิตถีลิงค์ ดังนี้
การจำแนกบทเป็นวิสทาการโวหารเป็นต้น,
ลักษณะของวิสทาการโวหารกับอวิสทาการโวหาร, ลักษณะของอุภยมุตตาการโวหาร,
สังขยากับความเป็นอวิสทาการโวหาร,สรรพนามกับความเป็นวิสทาการเป็นต้น,
รูปพิเศษของสรรพนามอิตถีลิงค์, วิภัตติวิปัลลาสนิยมใช้ในคาถา,สรุปลิงค์ของ โค
ศัพท์, สาเหตุที่จัด โค ศัพท์เป็นอิตถีลิงค์,
นานาวินิจฉัยวิสทาการ,อวิสทาการ,อุภยมุตตาการโวหาร, ลักษณะ 3
ประการปรากฏชัดในปทมาลา, วิธีกำหนดลิงค์ตามมติคัมภีร์ไวยากรณ์สันสฤต,
วิธีกำหนดลิงค์ตามมติคัมภีร์พระศาสนา/เกจิอาจารย์,
คำอธิบายอวิสทาการโวหารเป็นต้นตามมติสัททนีตี, รูปศัพท์พิเศษอิตถีลิงค์,
อิตถีลิงค์มี เอ การันต์หรือไม่
ปริจเฉทที่ 9 นปุสกลิงฺคนามิกปทมาลา
แบบแจกบทนามนปุงสกลิงค์
นิคฺคหีตนฺตนปุสกลิงฺค (แบบแจกบทนามนิคคหีตันตนปุงสกลิงค์)
จิตฺตสทฺทปทมาลา
(แบบแจก จิตฺต ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก จิตฺต ศัพท์, เกจิวาทะเกี่ยวกับลิงค์ของ สติปฏฺฐาน
ศัพท์เป็นต้น, วินิจฉัยลิงค์ของ มาลา ศัพท์, มาลา ศัพท์เป็น 2 ลิงค์,
ศัพท์เปลี่ยนลิงค์เดิมเป็นลิงค์อื่นได้, เกณฑ์ตัดสินลิงควิปัลลาส
ภูตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภูต ศัพท์) คือ ศัพท์แจกเหมือน จิตฺต ศัพท์
จมฺมสทฺทปทมาลา (แบบแจก จมฺม ศัพท์)
เวสฺมสทฺทปทมาลา (แบบแจก เวสฺม ศัพท์)
กมฺมสทฺทปทมาลา (แบบแจก กมฺม ศัพท์)
คุณวนฺตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก คุณวนฺตุ) นปุงสกลิงค์
กโรนฺตสทฺทปทมาลา
(แบบแจก กโรนฺต) นปุงสกลิงค์
คจฺฉนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก คจฺฉนฺต) นปุงสกลิงค์ คือ แบบแจกพิเศษ มหนฺต ศัพท์
มหนฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก มหนฺต) นปุงสกลิงค์
อิการนฺตนปุสกลิงฺคนามิกปทมาลา
แบบแจกบทนามอิการันต์นปุงสกลิงค์
อฏฺฐิสทฺทปทมาลา (แบบแจก อฏฺฐิ ศัพท์) คือ วินิจฉัยแบบแจก อฏฺฐิ ศัพท์
อตฺถวิภาวิสทฺทปทมาลา (แบบแจก อตฺถวิภาวิ ศัพท์)
อุการนฺตนปุสกลิงฺคนามิกปทมาลา แบบแจกบทนามอุการันต์นปุงสกลิงค์
อายุสทฺทปทมาลา (แบบแจก อายุ ศัพท์) ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก อายุ ศัพท์, อายุ ศัพท์เป็นได้ 2 ลิงค์
โคตฺรภุสทฺทปทมาลา (แบบแจก โคตฺรภุ ศัพท์) ดังนี้ วินิจฉัยแบบแจก โคตฺรภุ
ศัพท์, นปุงสกลิงค์มี เอ การันต์หรือไม่
ปริจเฉทที่ 10 ลิงฺคตฺตยมิสฺสกนามิกปทมาลา
การแจกบทนามโดยผนวกลิงค์ทั้ง 3
มาไว้ในที่เดียวกัน
รายละเอียดของศัพท์ที่มีการเพิ่มและลดพยางค์, อิตฺถีสทฺทปทมาลา (แบบแจก
อิตฺถี ศัพท์), ถีสทฺทปทมาลา (แบบแจกถี ศัพท์), ปภาสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปภา ศัพท์),
ภาสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภา ศัพท์), คิราสทฺทปทมาลา (แบบแจก คิรา ศัพท์), ราสทฺทปทมาลา
(แบบแจก รา ศัพท์), ความหมายของ รา ศัพท์, ปวนสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปวน ศัพท์),
วนสทฺทปทมาลา (แบบแจก วน ศัพท์), หลักการใช้ ปวน ศัพท์, อุทกสทฺทปทมาลา (แบบแจก
อุทก ศัพท์), ทกสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทก ศัพท์), หลักการใช้ อุท ศัพท์, กํสทฺทปทมาลา
(แบบแจก กํ ศัพท์), ความหมายของ กํ ศัพท์, ภูสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภู ศัพท์),
อรญฺญสทฺทปทมาลา (แบบแจก อรญฺญ ศัพท์), อารญฺญานิสทฺทปทมาลา (แบบแจก อรญฺญานิ
ศัพท์), ปญฺญาสทฺทปทมาลา ผแบบแจก ปญฺญา ศัพท์), ปญฺญาณสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปญฺญาณ
ศัพท์), ญาณสทฺทปทมาลา (แบบแจก ญาณ ศัพท์)
รายละเอียดของศัพท์พยางค์เดียว, ก ศัพท์ ความหมายของ ก ศัพท์, กสทฺทปทมาลา
(แบบแจก ก ศัพท์), วิ ศัพท์ ความหมายของ วิ ศัพท์, วิสทฺทปทมาลา (แบบแจก วิ ศัพท์),
สา ศัพท์ ความหมายของ สา ศัพท์, ธี ศัพท์ ความหมายของ ธี ศัพท์, ธีสทฺทปทมาลา
(แบบแจก ธี ศัพท์), กุ ศัพท์ ความหมายของ กุ ศัพท์, กุสทฺทปทมา (แบบแจก กุ ศัพท์),
ขํ ศัพท์ ความหมายของ ขํ ศัพท์, ขํสทฺทปทมาลา (แบบแจก ขํ ศัพท์), โค ศัพท์
ความหมายของ โค ศัพท์, โม ศัพท์ ความหมายของ โม ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ ปุณฺณมา
ศัพท์, มา ศัพท์ ความหมายของ มา ศัพท์, มสทฺทปทมาลา (แบบแจก ม ศัพท์), มาสทฺทปทมาลา
(แบบแจก มา ศัพท์), สํ ศัพท์ ความหมายของ สํ ศัพท์ ปุงลิงค์, นปุงสกลิงค์,
มนุสฺสสฺสํสทฺทปทมาลา (แบบแจก มนุสฺสสฺสํ ศัพท์), ยํ ตํ กึ ศัพท์
ปริจเฉทที่ 11 วาจฺจาภิเธยฺยลิงฺคาทิปริทีปนนามิกปทมาลา
แบบแจกวาจจลิงค์และอภิเธยยลิงค์เป็นต้น
วาจจลิงค์และอภิเธยยลิงค์
ทีฆสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทีฆ ศัพท์) ปุงลิงค์
ทีฆสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทีฆ
ศัพท์) อิตถีลิงค์
ทีฆสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทีฆ ศัพท์) นปุงสกลิงค์ วิเคราะห์/อรรถของ ภวาภว ศัพท์
ภวาภวสทฺทปทมาลา (แบบแจก ภวาภว ศัพท์) เอกพจน์
ภวาภวสทฺทปทมาลา (แบบแจก
ภวาภว ศัพท์) พหูพจน์ บทสรุป ภวาภว ศัพท์
ลงฺกาทีปสทฺทปทมาลา (แบบแจก ลงฺกาทีป) บทสมาส เอกพจน์
ลงฺกาทีปสทฺทปทมาลา
(แบบแจก ลงฺกาทีป) เอกพจน์
ลักษณะพิเศษของ ธิ,สนฺธิ เป็นต้น, วิธีแจก โพธิ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ
โพธิ(ต้นไม้), ไม่ควรตัดสินลิงค์โดยอาศัยรูปวิเคราะห์, โพธิ ศัพท์เป็นได้ 2 ลิงค์,
สรุปลิงค์ของ โพธิ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ สนฺธิ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ วิภตฺติ
ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ อายุ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ ธาตุ ศัพท์,
วินิจฉัยลิงค์ของ ปชาปติ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ ทามา,ทามํ ศัพท์,
วินิจฉัยลิงค์ของ สทฺธา,สทฺธํ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ ตฏํ,ตฏี,ตโฏ ศัพท์,
วินิจฉัยลิงค์ของ พฺยญฺชน ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ อตฺถ ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ
อกฺขร ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ อชฺชว,มทฺทว,คารว ศัพท์, วินิจฉัยลิงค์ของ วจี,วโจ
ศัพท์, แบบแจกอภิเธยยลิงค์และตัทธิตันตลิงค์, ลักษณะพิเศษของ ภวิตพฺพ ศัพท์,
ลักษณะพิเศษของ โสตฺถิ,สุวตฺถิ ศัพท์, ลักษณะพิเศษของ อพฺภุตํ,อภูตํ ศัพท์
อพฺภุตสทฺทปทมาลา (แบบแจก อพฺภุต ศัพท์)
ปทสโมธานปทมาลา
(วิธีแจกปทมาลาคำศัพท์ที่ใช้คู่กัน
ปริจเฉทที่ 12 สพฺพนามตํสทิสนามนามิกปทมาลา
แบบแจกสรรพนามและนามที่มีลักษณะเหมือนกับสรรพนาม
สรรพนาม 27 ตัว, ความหมายของสรรพนาม
สพฺพสทฺทปทมาลา (แบบแจก สพฺพ ศัพท์) ปุงลิงค์, รูปพิเศษของสพฺพ ปุงลิงค์
สพฺพสทฺทปทมาลา (แบบแจก สพฺพ ศัพท์) อิตถีลิงค์, รูปพิเศษของ สพฺพ อิตถีลิงค์
สพฺพสทฺทปทมาลา (แบบแจก สพฺพ ศัพท์) นปุงสกลิงค์, สพฺพ ศัพท์ในบทสมาส
กตราทิสทฺทปทมาลา (แบบแจก กตร ศัพท์เป็นที่) ปุงลิงค์
กตราทิสทฺทปทมาลา (แบบแจก กตร ศัพท์เป็นที่) นปุงสกลิงค์, รูปพิเศษของ ปร
ศัพท์เป็นต้น ปุงลิงค์,นปุงสกลิงค์
กตราทิสทฺทปทมาลา (แบบแจก กตร ศัพท์เป็นต้น) อิตถีลิงค์, รูปพิเศษ
อิตร,อญฺญ,อญฺญตร,อญฺญตม ในพระบาลีเป็นต้น, สพฺพ ศัพท์ 4 ประเภท, ความต่างกันของ
กตร,กตม ศัพท์
อุภยสทฺทปทมาลา (แบบแจก อุภย ศัพท์) ดังนี้
ข้อวินิจฉัยบทที่เป็นได้ทั้งสรระนามและนามนาม, อญฺญ,ปพฺพ,ทกฺขิณ,อุตฺตร,ปร
สงเคราะห์เป็นนามนาม, กตร ศัพท์ในบทสมาส, กตมกตร ศัพท์, กฎพิเศษของ ปุพฺพ,ปร
ศัพท์ที่เข้าสมาสเป็นทวันทสมาส
ยสทฺทปทมาลา (แบบแจก ย ศัพท์) ปุงลิงค์
ยสทฺทปทมาลา (แบบแจก ย ศัพท์)
นปุงสกลิงค์, รูปพิเศษของ ย ศัพท์ นปุงสกลิงค์
ยสทฺทปทมาลา (แบบแจก ย ศัพท์) อิตถีลิงค์, อัตถุทธาระของ ยํ ศัพท์,ยํ
ศัพท์ในบทสมาส, กฎการเข้าสมาสของ ย ศัพท์
ตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ต ศัพท์) ปุงลิงค์ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก ต ศัพท์
ปุงลิงค์, พิเศษของ ต,เอต ศัพท์, อัตถุทธาระของ เต ศัพท์
ตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ต ศัพท์) นปุงสกลิงค์
ตสทฺทปทมาลา (แบบแจก ต ศัพท์)
อิตถีลิงค์ ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก ต ศัพท์ อิตถีลิงค์, วิธีใช้ นํ,เน,เนน เป็นต้น, วิธีใช้
นํ,เน,เนน เป็นต้นตามมตินิรุตติปิฎก, กฎการเข้าสมาสของ ต ศัพท์
เอตสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอต ศัพท์) ปุงลิงค์
เอตสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอต
ศัพท์) นปุงสกลิงค์
เอตสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอต ศัพท์) อิตถีลิงค์ , กฎการเข้าสมาสของ เอต ศัพท์
อิทํสทฺทปทมาลา (แบบแจก อิทํ ศัพท์) ปุงลิงค์
อิทํสทฺทปทมาลา (แบบแจก อิทํ
ศัพท์) นปุงสกลิงค์
อิทํสทฺทปทมาลา (แบบแจก อิทํ ศัพท์) อิตถีลิงค์ ดังนี้
อิทํ หรือ อิม
ศัพท์เป็นรูปศัพท์เดิม, กฎการเข้าสมาสของ อิทํ ศัพท์
อมุสทฺทปทมาลา (แบบแจก อมุ ศัพท์) ปุงลิงค์
อมุสทฺทปทมาลา (แบบแจก อมุ
ศัพท์) นปุงสกลิงค์
อมุสทฺทปทมาลา (แบบแจก อมุ ศัพท์) อิตถีลิงค์ , วินิจฉัยแบบแจก อมุ ศัพท์
อสุก อมุกสทฺทปทมาลา (แบบแจก อสุก อมุก ศัพท์
กึสทฺทปทมาลา (แบบแจก กึ ศัพท์) ปุงลิงค์, วินิจฉัยแบบแจก กึ ศัพท์, โก
ศัพท์เป็นนิบาต
กึสทฺทปทมาลา (แบบแจก กึ ศัพท์) นปุงสกลิงค์
กึสทฺทปทมาลา (แบบแจก กึ
ศัพท์) อิตถีลิงค์ ดังนี้
อัตถุทธาระของ กึ ศัพท์, ประเภทคำถามของ กึ ศัพท์, กึ ศัพท์ในบทสมาส,
กฎการเข้าสมาสของ กึ ศัพท์, วิธีใช้ กึ ศัพท์ 3 ฐานะ,ความต่างกันของ ก สุทธนามกับ ก
ที่แปลงมาจาก กึ ศัพท์
เอกสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอก ศัพท์) นปุงสกลิงค์
เอกสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอก
ศัพท์) อิตถีลิงค์
วิธีใช้ เอก ศัพท์เป็นวิจฉา, วิจฉาศัพท์ไม่ใช่บทสมาส
เอกจฺจสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอกจฺจ ศัพท์) ปุงลิงค์
เอกติยสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอกติย ศัพท์) ปุงลิงค์
เอกจฺจิยสทฺทปทมาลา
(แบบแจก เอกจฺจิย ศัพท์) ปุงลิงค์
เอกจฺจ,เอกติย,เอกจฺจิย สทฺทปทมาลา นปุงสกลิงค์
เอกจฺจ,เอกติย,เอกจฺจิย
สทฺทปทมาลา อิตถีลิงค์
เอกากี,เอกากิย สทฺทปทมาลา ปุงลิงค์
เอกากี,เอกากิย สทฺทปทมาลา นปุงสกลิงค์
เอกากี,เอกากิย สทฺทปทมาลา อิตถีลิงค์
อุภยสทฺทปทมาลา (แบบแจก อุภย ศัพท์)
3 ลิงค์, รูปพิเศษของ อุภ ศัพท์
ทฺวิสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทฺวิ ศัพท์) 3 ศัพท์, รูปพิเศษของ ทฺวิ ศัพท์
ติสทฺทปทมาลา (แบบแจก ติ ศัพท์) ปุงลิงค์
ติสทฺทปทมาลา (แบบแจก ติ ศัพท์) อิตถีลิงค์, รูปพิเศษของ ติ ศัพท์ อิตถีลิงค์
ติสทฺทปทมาลา (แบบแจก ติ ศัพท์) นปุงสกลิงค์, รูปพิเศษของ ติ ศัพท์
นปุงสกลิงค์, กฎการเข้าสมาสของ ติ ศัพท์
จตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก จตุ ศัพท์) ปุงลิงค์
จตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก จตุ
ศัพท์) อิตถีลิงค์ , วินิจฉัยแบบแจก จตุ ศัพท์ อิตถีลิงค์
จตุสทฺทปทมาลา (แบบแจก จตุ ศัพท์) นปุงสกลิงค์, กฎการเข้าสมาสของ จตุ ศัพท์
ตุมฺหสทฺทปทมาลา (แบบแจก ตุมฺห ศัพท์)
อมฺหสทฺทปทมาลา (แบบแจก อมฺห ศัพท์), ดังนี้
วินิจฉัยแบบแจก อมฺห
ศัพท์, รูปพิเศษของ ตุมฺห,อมฺห ศัพท์ตามมติต่างๆ, ตุมฺห,อมฺห ศัพท์ในบทสมาส,
คำอธิบาย เหตุที่ เต,เม,โว,โน ไม่มีในแบบแจก, อัตถุทธาระของ มยํ ศัพท์,
อัตถุทธาระของ เม ศัพท์, ข้อวินิจฉัยเรื่องคำอธิบาย เต เม ของพระอรรถกถาจารย์,
ข้อควรระวังเรื่องวิภัตติวิปัลลาส, คำชี้แจงบทว่า มยฺหก, อัตถุทธาระของ โว ศัพท์,
อัตถุทธาระของ โน ศัพท์
มิสฺสกปทมาลาสรรพนาม
ย ต สทฺทปทมาลา (แบบแจก ย ต ศัพท์) ปุงลิงค์
ย ต
สทฺทปทมาลา (แบบแจก ย ต ศัพท์) อิตถีลิงค์
ย ต สทฺทปทมาลา (แบบแจก ย ต ศัพท์) นปุงสกลิงค์
เอต + ต,อิม + ต,ต +
อิม สทฺทปทมาลา
ปริจเฉทที่ 13 สวินิจฺฉยสงฺขฺยานามนามิกปทมาลา
แบบแจกบทนามประเภทสังขยาพร้อมข้อวินิจฉัย
ปญฺจสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปญฺจ), ฉสทฺทปทมาลา (แบบแจก ฉ),
สตฺตสทฺทปทมาลา (แบบแจก สตฺต), อฏฺฐสทฺทปทมาลา (แบบแจก อฏฺฐ), นวสทฺทปทมาลา (แบบแจก
นว), ทสสทฺทปทมาลา (แบบแจก ทส), อฏฺฐารสสทฺทปทมาลา (แบบแจก อฏฺฐารส),
เอกูนวีสสทฺทปทมาลา (แบบแจก เอกูนวีส), เอกูนวีสติสทฺทปทมาลา
(แบบแจก เอกูวีสติ), วีสติสทฺทปทมาลา (แบบแจก วีสติ), วีสสทฺทปทมาลา
(แบบแจก วีส), ตึสสทฺทปทมาลา (แบบแจก ตึส), จตฺตาลีสสทฺทปทมาลา (แบบแจก จตฺตาลีส),
ปญฺญาสสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปญฺญาส), ปณฺณาสสทฺทปทมาลา (แบบแจก ปณฺณาส),
สฏฺฐิสทฺทปทมาลา (แบบแจก สฏฺฐิ), สตฺตติสทฺทปทมาลา (แบบแจก สตฺตติ) อสีติสทฺทปทมาลา
(แบบแจก อสีติ), นวุติสทฺทปทมาลา (แบบแจก นวุติ), กฏเกณฑ์-ข้อวินิจฉัยการใช้สังขยา
19 98 ตามมติต่างๆ, หลักการใช้ อตฺถิ นตฺถิ ศัพท์, อตฺถิยา นตฺถิยา
ไม่ใช่ลิงควิปัลลาส, วินิจฉัยวิภัตติของ อตฺถิ นตฺถิ ศัพท์, สตสทฺทปทมาลา (แบบแจก
สต ศัพท์), หลักการใช้สังขยาปธานะ + สังขเยยยปธานะ, สตํ
เป็นต้นเป็นได้ทั้งเอกพจน์,พหูพจน์, คำทักท้วงเรื่องลิงค์ของ สต ศัพท์, นยูปเทสคาถา
ปริจเฉทที่ 14 อตฺถติกวิภาค
การจำแนกธาตุและบทที่สำเร็จจากธาตุด้วยประเด็น 3 ประเด็น ดังนี้
อรรถของ ภูต ศัพท์, ตัวอย่างอรรถ ภูต ศัพท์จากอรรถกถา, ตัวอย่างอรรถ
ภูต ศัพท์จากฎีกา
ตุมันตกถา ดังนี้
อกัมมกตุมันตบท, สุทธกัตตา สกัมมก ตุมันตบท, เหตุกัตตา สกัมมก
ตุมันตบท, นิทเทสตุมันตบท, ตุมันตบทเป็นนิบาต
ตฺวาทิยันตกถา ดังนี้
ปุพพกาลกิริยา อกัมมกบท, สกัมมกบท
(สุทธกัตตุวาจก), สกัมมกบท (เหตุกัตตุวาจก), นิทเทสตฺวาทิยันตบท,
ตัวอย่างปุพพกาลกิริยา, สมานกาลกิริยา, สมานกาลกิริยาตามมติต่างๆ, อปรกาลกิริยา,
อปรกาลกิริยาตามมติอปเรอาจารย์, อสมานกัตตุกะ, ปราปรโยคะ, ลักษณะ,เหตุเป็นต้น,
สรุปตฺวาทิยันตบท 7 ประการ
บรรณานุกรรม
- พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.9,M.A.,Ph.D.) ผู้ตรวจชำระ พระมหานิมิต ธมฺมสาโร ป.ธ.9
- จำรูญ ธรรมดา ประกาศนียบัตรบาลีชั้นสูง ผู้แปล, สัททนีติปทมาลา คัมภีร์หลักบาลีมหาไวยากรณ์
- หลักการใช้ศัพท์และอรรถในพระไตรปิฎก พระอัคควังสเถระ รจนา,พิมพ์โดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
- กรณราชวิทยาลัย วัทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม มกราคม พ.ศ.2546