วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา >>
» กีฏวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
» การเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการของแมลง
» การกำเนิด และวิวัฒนาการของแมลง
» แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
» ทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคแมลง
» ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในประเทศไทย
» การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
» แนวทางการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง
แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน
แมลงที่เป็นอาหาร
แมลงกุดจี่ (แมลงขี้ครอก ด้วงขี้ควาย)
มีขนาดของลำตัวใหญ่โดยทั่วไป มีสีน้ำตาลแดงเข้ม ลำตัวเป็นรูปไข่ หนวดแบบใบไม้
ปากแบบปากกัด ขาคู่หน้าเป็นแผ่นแบนมีลักษณะแบนกว้าง
ด้านหน้าสุดของหัวเป็นแผ่นแบบกว้าง ด้านหน้ามน มีปีกแข็งคลุมมิด
อาศัยอยู่ตามกองมูลสัตว์หรือในดิน
ถ้ามีแมลงชนิดนี้อยู่จะมีรอยขุดอยู่ที่กองมูลสัตว์
จับได้โดยใช้ไม้คุ้ยหรือขุดลงไปในดิน
เมื่อได้ตัวแล้วต้องใส่ถังตั้งทิ้งไว้หนึ่งคืนเพื่อให้แมลงถ่ายสิ่งสกปรกออกมาแล้วนำไปแช่น้ำ
และล้างให้สะอาดรับประทานได้ เช่นเดียวกับแมลงกินูน
แต่ถ้าเป็นกุดจี่ขี้คนไม่นิยมนำมาบริโภคแต่นิยมใช้เป็นยารักษาโรคทรางในเด็ก
ภาพแสดงลักษณะของแมลงกุดจี่
ที่มา : กัณฑ์วีร์ วิวัฒน์พาณิชย์, 2548 : 64
» แมลงกุดจี่ (แมลงขี้ครอก ด้วงขี้ควาย)
» กว่างชน (กว่างโซ้ง กว่างกิม กว่างอีลุ่ม)
» จิ้งหรีด
» ตั๊กแตนอีค่วง (ตั๊กแตนหน้าแหลม)
» แมลงเม่า
» แมลงมัน
» มดแดง
» ผึ้ง
» ต่อ
» จักจั่น
» แมลงดานา
» แมลงดาสวน (แมลงก้าน มวนตะพาบ มวนหลังไข่)
» แมลงทับ
» แมลงแคง