วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา >>

กีฏวิทยา

» กีฏวิทยาและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง

» วิวัฒนาการของแมลง

» การเปลี่ยนแปลงด้านวิวัฒนาการของแมลง

» การกำเนิด และวิวัฒนาการของแมลง

» ประโยชน์และโทษของแมลง

» แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน

» ทัศนคติที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคแมลง

» ความเชื่อเกี่ยวกับแมลง

» ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในประเทศไทย

» จำนวนชนิดแมลงในโลก

» การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง

» การอนุรักษ์แมลงในประเทศไทย

» แนวทางการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง

» เอกสารอ้างอิง

แมลงกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและภูมิปัญญาชาวบ้าน

แมลงที่เป็นอาหาร

แมลงเหนี่ยง

อยู่ในน้ำและมีลักษณะเหมือนแมลงตับเต่า แต่ที่ขอบปีกไม่มีทางสีน้ำตาลอ่อน และมีอวัยวะคล้ายลูกศรอยู่กลางอกทางด้านใต้ท้อง ลำตัวค่อนข้างยาวโค้งนูน ผิวเรียบสีดำ หนวดเป็นรูปกระบอง ปากกัด ขามีขนปกคลุม ดำน้ำนาน กินซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย กินพืชและวัตถุเน่าเปื่อยในน้ำเป็นอาหาร นำมาประกอบอาหารได้ เช่น คั่ว ทอด หมก กี่ แกง ก่อนบริโภคต้องเด็ดส่วนหัว และปีกออกก่อน


ภาพแสดงลักษณะของแมลง
A. แมลงเหนี่ยง B. แมลงตับเต่า (ด้วงดิ่ง)
ที่มา : กัณฑ์วีร์ วิวัฒน์พาณิชย์, 2548 : 32, 36

» แมลงกินูน (แมลงอินูน)

» แมลงกุดจี่ (แมลงขี้ครอก ด้วงขี้ควาย)

» กว่างชน (กว่างโซ้ง กว่างกิม กว่างอีลุ่ม)

» แมลงตับเต่า (ด้วงดิ่ง)

» แมลงเหนี่ยง

» แมลงข้าวสาร

» จิ้งโก่ง (จิโปม)

» จิ้งหรีด

» แมลงกระชอน

» ตั๊กแตนปาทังก้า

» ตั๊กแตนอีค่วง (ตั๊กแตนหน้าแหลม)

» แมลงเม่า

» แมลงมัน

» มดแดง

» ผึ้ง

» ต่อ

» ดักแด้ไหม

» หนอนไผ่ (ตัวแน รถไฟ)

» ตัวจรวด (เครื่องบิน)

» แมลงโป้งเป้ง (แมลงงำ)

» จักจั่น

» แมลงดานา

» แมลงดาสวน (แมลงก้าน มวนตะพาบ มวนหลังไข่)

» แมลงแมงป่องน้ำ (แมงคันโซ่)

» แมลงหัววัว

» แมลงทับ

» แมลงแคง

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย