ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ บุคคลสำคัญ ประเทศและทวีป >>
หลักสูตรและหนังสือเรียนภาษาไทย
นางสาวนิจสุดา อภินันทาภรณ์
หัวหน้าสถาบันภาษาไทย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รากฐานสำคัญในการสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่สังคมประเทศชาติ คือ การศึกษา เนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการช่วยพัฒนาคนให้พัฒนาตนเอง ประเทศที่มีประชาชนมีการศึกษาสูงย่อมส่งผลถึงการพัฒนาประเทศด้วย จากอดีตที่ผ่านมานับตั้งแต่โบราณกาล จะเห็นได้ว่าประเทศไทยเราให้ความสำคัญเรื่องการศึกษาของประชาชนมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จากวังสู่วัดและจากวัดสู่โรงเรียน จนถึงปัจจุบันใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักในการจัดการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนไทยทุกคน
ความเป็นมาของหลักสูตรและหนังสือเรียนภาษาไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน นับตั้งแต่กรุงสุโขทัยเป็นราชธานี (พ.ศ.๑๗๘๑ ๑๙๒๑) เป็นต้นมา จะสัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างการจัดทำหนังสือเรียนเพื่อใช้ในการเรียนการสอนกับการสร้างหลักสูตรเพื่อเป็นแบบแผนในการจัดการศึกษา
- สมัยสุโขทัย
- สมัยกรุงศรีอยุธยา
- สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
- สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่ปลายรัชกาลที่ ๔ ถึงสมัยรัชกาลที่ ๕
- กรมศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๔๓๐)
- กระทรวงธรรมการ (พ.ศ. ๒๔๓๕ ๒๔๕๓)
- หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองถึงปัจจุบัน
- หนังสือเรียนภาษาไทยฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓
- หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
- หนังสือสาระการเรียนรู้พื้นฐาน
- หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
- หนังสือเรียนภาษาไทยที่ควรรู้จัก
อ้างอิง
- วิชาการ,กรม, ๒๕๒๐ ความเป็นมาของแบบเรียนไทย. ห้างหุ้นส่วนจำกัด จงเจริญการพิมพ์.
- วิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สำนัก,๒๕๕๒. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
- ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
- วิชาการและมาตรฐานการศึกษา,สำนัก, ๒๕๔๔.หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔.
- โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.ศึกษาธิการ,กระทรวง, ๒๕๔๕. วิชาการวิจักษณ์ สำนักพิมพ์องค์การค้าของคุรุสภา.