สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
เศรษฐศาสตร์สวัสดิการและสิ่งแวดล้อม
การบรรลุสวัสดิการสูงสุดของสังคม
ความไม่สมบูรณ์ของระบบตลาด
การบรรลุสวัสดิการสูงสุดของสังคมฯ
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยสถาบัน
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์
ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ
การเลือกของสังคมในระบอบประชาธิปไตย
ดัชนีและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
คุณภาพสิ่งแวดล้อมในเชิงเศรษฐศาสตร์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับประชากรฯ
การประเมินผลโครงการบริหารสิ่งแวดล้อม
การบริหารสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ
การเรียกร้องค่าเสียหายจากคดีเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม
นโยบายและแผนงานด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
การเลือกของสังคมในระบอบประชาธิปไตย
ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายสวัสดิการสังคม
1. ศาสตราจารย์เคนเนธ แอร์โรว์ เชื่อว่านโยบายสวัสดิการสังคมที่แท้จริงนั้น
จะต้องพิจารณาไปถึงปทัสถานของสังคมด้วย
และได้สร้างเงื่อนไขที่แบ่งหลักการดังกล่าวไว้ 5 ข้อ โดยแสดงให้เห็นว่า
รัฐบาลหรือสังคมไม่สามารถสร้างนโยบายสวัสดิการสังคมขึ้นมาโดยปราศจากการบีบบังคับหรือชักนำที่ละเมิดกฎเกณฑ์อธิปไตยของผู้บริโภค
2. ศาสตราจารย์จอห์น รอลส์
หาทางออกให้กับปัญหาการสร้างนโยบายสวัสดิการสังคมที่จะต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยเปลี่ยนมาเป็นสวัสดิการสังคมที่เป็นธรรมที่สุดซึ่งได้แบ่งนโยบายที่ประกันสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน
และการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่ด้อยที่สุดในสังคมอย่างมากที่สุด
ทฤษฎีความเป็นไปไม่ได้ของนโยบายสวัสดิการสังคม
1. ทฤษฎีความเป็นไปไม่ได้ของ แอร์โรว์
มีเงื่อนไขสำคัญคือการแบ่งเอาค่านิยมของสังคมหรือปทัสถานของสังคมเข้าไว้ด้วย
2. ข้อสรุปของทฤษฎีความเป็นไปไม่ได้ของ แอร์โรว์ คือ
ไม่มีนโยบายสวัสดิการสังคมอันใดที่สามารถบรรลุเงื่อนไขทั้งห้าได้พร้อมๆกัน
นโยบายสวัสดิการสังคมที่เป็นธรรม : แนวคิดของ จอห์น รอลส์
จอห์น
รอลส์ได้พยายามที่จะแก้ปัญหาแนวทางการดำเนินนโยบายสวัสดิการสังคมที่เหมาะสม
โดยการสร้างเงื่อนไขที่สามารถใช้กับการบริหารนโยบายสวัสดิการสังคมโดยทั่วไป
และเงื่อนไขดังกล่าวแตกต่างจากการดำเนินนโยบายให้สังคมได้รับสวัสดิการสูงสุดโดยที่เงื่อนไขของ
รอลส์ มิใช่เงื่อนไขแห่งการได้ประโยชน์สูงสุดของนโยบายสวัสดิการสังคมอันใดอันหนึ่ง
หากแต่เงื่อนไขที่จะบอกว่านโยบายสวัสดิการสังคมที่จะสร้างความเป็นธรรมหรือความยุติธรรมให้แก่สังคมนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างไร
รูปแบบของการออกเสียงและปัญหาที่เกี่ยวข้อง
บทบาทและพฤติกรรมของบุคคลและสถาบันทางการเมืองกับการเลือกของสังคม
ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายสวัสดิการสังคม