สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
เศรษฐศาสตร์สวัสดิการและสิ่งแวดล้อม
การบรรลุสวัสดิการสูงสุดของสังคม
ความไม่สมบูรณ์ของระบบตลาด
การบรรลุสวัสดิการสูงสุดของสังคมฯ
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยสถาบัน
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์
ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ
การเลือกของสังคมในระบอบประชาธิปไตย
ดัชนีและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
คุณภาพสิ่งแวดล้อมในเชิงเศรษฐศาสตร์
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับประชากรฯ
การประเมินผลโครงการบริหารสิ่งแวดล้อม
การบริหารสิ่งแวดล้อมและการแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ
การเรียกร้องค่าเสียหายจากคดีเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม
นโยบายและแผนงานด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
การบรรลุสวัสดิการสูงสุดของสังคม
วัตถุประสงค์ของสังคมกับขอบเขตในการเลือก
1. วัตถุประสงค์ของสังคมคือการบรรลุสวัสดิการสูงสุดของสังคม
2. มนุษย์ที่มีเหตุผลย่อมต้องเลือกหาทางที่จะบรรลุวัตถุประสงค์สูงสุดของตน
3. เศรษฐทรัพย์เป็นสิ่งที่หามาได้ยาก จึงเป็นของเขตในการเลือกของมนุษย์และสังคม
วัตถุประสงค์ของสังคม
1. วัตถุประสงค์ของสังคมคือ
สวัสดิการสูงสุดของสังคมซึ่งขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของสังคม
2. ผลประโยชน์ส่วนตัวขัดแย้งกับผลประโยชน์ส่วนรวม
ในเชิงเศรษฐศาสตร์สวัสดิการ
หมายความว่าผลประโยชน์ส่วนตัวขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ส่วนตัว
ซึ่งขึ้นอยู่กับวิจารณญาณส่วนตัวของแต่ละคน
แต่ผลประโยชน์ส่วนรวมขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของส่วนรวม
ซึ่งถูกกำหนดโดยมโนทัศน์เกี่ยวกับจริยธรรมของสังคมที่ครอบงำการเลือกของปัจเจกชน
ตัวอย่างเช่นที่เกิดในประเทศไทยมากมาย เช่น
การทำลายสิ่งแวดล้อมเป็นความมักง่าย (คือมุ่งเอาแต่ประโยชน์ส่วนตัว) ของผู้กระทำ
แต่เป็นผลเสียต่อผู้อื่นหรือส่วนรวม เป็นต้น
การเลือกที่สมเหตุสมผลและขอบเขตในการเลือก
ในฐานะผู้บริโภค เขาเลือกให้ได้ความพอใจ (อรรถประโยชน์)
สูงสุดจากสินค้าและบริการที่ได้มา
ในฐานะเจ้าของปัจจัย เขาเลือกใช้ (ขาย) ปัจจัยของเขาให้น้อยที่สุด เพื่อความเข้าใจ (อรรถประโยชน์) สูงสุด
ในฐานะผู้ผลิต (ผู้ประกอบการ) เขาจะเลือกหาทางให้ได้กำไรสูงสุดเพื่อความพอใจ
(อรรถประโยชน์) สูงสุด
ขอบเขตของการเลือกคือ ความหาได้ยากของเศรษฐทรัพย์
การหาภาวะเหมาะสมที่สุดแบบพาเรโต้ในพิสัยสินค้าและปัจจัยการผลิต
เงื่อนไขแห่งประสิทธิภาพ
การแข่งขันสมบูรณ์กับสวัสดิการแบบพาเรโต้