ฟิกสิกส์สมัยใหม่กับปรัชญาศาสนาตะวันออก
โดย นายเชษฐพันธ์ ชูเชื้อ (4.) สป.กษ.
เนื่องจากปี ค.ศ.2005 เป็นปีที่ครบรอบ 100 ปี ของนักฟิกสิกส์
ผู้ยิ่งใหญ่ คือ ท่าน อัลเบิร์ก ไอน์สน์ ดังนั้น องค์การสหประชาชาติ
จึงจักให้ปีนี้เป็นปีแห่งฟิกสิกส์
ฟิกสิกส์สมัยใหม่กับปรัชญา/ศาสนาตะวันออกจึงมีความสอดคล้องกัน
ดังนั้นจึงขอกล่าวถึง ฟิกสิกส์เท่าหรือฟิกสิกส์ดังเดิมเสียก่อน
ฟิกสิกส์ดั่งเดิม มีรากฐานอยู่บนทฤษฎีกลศาสตร์ของนิวตัน
นักฟิกสิกส์ผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งแห่ง
ปี ค.ศ.18-19 เป็นทัศนะในเชิงกลจักร กล่าวคือ นิวตัน เชื่อว่า จักรวาล
มีลักษณะเป็น 3 มิติ ตามหลักเรขาคณิตหลายเท่าของยูคลิก อวกาศเป็นสิ่งสัมบูรณ์
ส่วนสิ่งไม่เคลื่อนไหวและไม่เคยเปลี่ยนแปลง สำหรับเวลา แล้ว
นิวตันเชื่อว่าเป็นสิ่งสัมบูรณือีกอันหนึ่ง เวลาจะไหลเลื่อนอย่างสม่ำเสมอ
จากอดีตถึงปัจจุบันและไปสู่อนาคต
เวลาจะไม่เกี่ยวข้องกับสสารวัตถุและไม่ขึ้นกับปัจจัยภายนอก
ส่วนสสารวัตถุนั้นจะแบ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุด เร็วกว่าอะตอม
(ปัจจุบันสามารถคำนวณได้ว่ามีขนาด 1/ร้อยล้าน เซนติเมตร)
อะตอมเป็นของแข็งไม่สามารถทำลายได้ เป็นสิ่งที่คงตัว คงที่
และไม่มีพลังกระทำในตนเอง แรงที่มากระทำคือแรงโน้มถ่วงของโลกเท่านั้น
ฟิกสิกส์สมัยใหม่ ฟิกสิกส์สมัยใหม่กำเนิดอยู่ในช่วง ค.ศ.20
โดยก่อนหน้านั้น ค.ศ.19 มีปรากฎการณ์ไฟฟ้าและแม่เหล็กที่พบโดยไมเคิลฟาร์เกย์
และเคลิริทแมทว์เวลล์ เป็นการเปลี่ยนจากงานทางกลศาสตร์ เป็นไฟฟ้าได้
โดยการเลื่อนแห่งแม่เหล็กตัดขวางทับแนวขดลวด ซึ่งทฤษฎีของนิวตันไม่สามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์นี้ได้ ในช่วงนั้นจึงมี 2 ทฤษฎีคือ ทฤาฎีกลศาสตร์
และทฤษฎีรพลศาสตร์ไฟฟ้าของแมกซ์เวลส์ หลังจากนั้นในปี พ.ศ.2448
นักฟิกสิกส์ผู้ยิ่งใหญ่อัลเบิร์ท ไอนัสไตน์ ได้เสนอทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ
ซึ่งเหมือนกับเป็นการรวมเอาทั้งทฤษฎีกลศาสตร์ของนิวตันกับพลศาสตร์ของแมกซ์เวลล์ใช้ด้วยกัน
ในทฤษฎีสัมพันธ์ภาพนั้น มีทัศนะว่า อวกาศไม่ได้เป็น 3 มิติ
และเวลาไม่สามารถแยกออกจากอวกาศได้ อวกาศและเวลาเชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นสภาพ 4
มิติ เรียกว่า กาล-อวกาศ (space-time)
เวลาก็ไม่สม่ำเสมอกันในอวกาศตลอดทั้งจักรวาล
ผู้สังเกตแต่ละคนจะเรียงลำดับเหตุกาณ์ก่อนหลังแตกต่างกันขึ้นอยู่กับความเร็วของผู้สังเกต
ดังนั้นเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ ผู้สังเกตุคนหนึ่งเห็นว่าเกิดขึ้นพร้อมกัน
แต่ผู้สังเกตอีกคนหนึ่งเห็นว่าเกิดไม่พร้อมกัน อวกาศและเวลามีลักษณะโค้ง
จักรวาลและอวกาศไม่ได้หยุดนิ่งแต่จะเคลื่อนตัวขยายออกไปสำหรับอะตอมนั้นไม่ได้เป็นเม็ดแข็ง
ตามทัศนะของนิวตัน
แต่อะตอมนั้นจะมีลักษระเหมือนเป็นที่ว่างในอาณาจักรของอะตอมจะมีอิเล็กตรอน
และนิวเคลียร์ซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน
หากเราลองขยายอะตอมให้มีบทบาทเท่าห้องประชุมใหญ่ ๆ ห้องหนึ่ง
นิวเคลียส์จะมีขนาดเท่าก้อนเกลือหรือหัวไม้ขีด ลอยอยู่ในกลาง
โดยมโปรตอนและนิวตรอนอยู่คู่กันด้วยทั้งแรงดึงดูดและแรงผลักที่มีผลังมหาศาล
ทั้งโปรตอนและนิวตรอนจะหมุนคู่กันไปด้วยความเร็วประมาณ 40,000 ไมส์ต่อวินาที
สำหรับอิเล็กตรอนนั้นจะมีขนาดเพียงเท่าผลชุลีที่ที่โคจรรอบนิวเคลียด้วยความเร็วประมาณ
600 ไมส์ต่อวินาที ซึ่งการที่อิเล็กตรอน
และนิวเคลียหมุนด้วยความเร็วเช่นนี้จึงทำให้มันมีลักษณะคล้ายเม็ดแข็ง
การศึกษาเกี่ยวกับอะตอมนี้นักฟิกส์จะใช้เครื่องเร่งอนุภาค
ซึ่งเป็นเครื่องจักรรูปวงกลมมีเส้นรอบรวงยาวหลายไมส์เพื่อเร่งอนุภาคโปรตอนให้มีความเร็วเท่าแล้วพุ่งเข้าชนโปรตอนตัวอื่น
ๆ
หรือนิวตรอนในอะตอมและดูร่องรอยที่ปรากฏของอนุภาคเหล่านั้นในแผ่นพิมพ์ในบับเบิลแซมเบอร์
เปรียบเสมือนดูควันจากเครื่องบินไอพ่น (ซึ่งตัวเครื่องบินเรามองไม่เห็น)
ที่ได้ทิ้งร่องรอยเอาไว้ในอากาศ
อนุภาคภายในอะตอมทั้งอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน
ต่างหมุนเหมือนตัวได้เร็วเกือบเก่าแสง
อีกทั้งอนุภาคอิเล็กตรอนจะมีลักษณะอีกอย่างหนึ่งคือ เป็นคลื่นด้วย ดังนั้น
อิเล็กตรอนจึงเป็นทั้งอนุภาคและคลื่นในเวลาเดียวกัน
ดังนั้นภายในอะตอมจึงมีพลังงานอยู่ในตัว ทฤษฎีสัมพันธ์ภาพของไอนัสไตน์ กล่าวว่า
มวลสารคือรูปหนึ่งของพลังงาน
จากทั้งหมดนี้มีนักฟิกสิกส์ รุ่นใหม่ ๆ
ที่ได้ศึกษาสิ่งที่เล็กที่สุดในโลก ในระดับอะตอมและได้พบประกฏการณ์ต่าง ๆ
ที่ทำให้ทำพิศวง
และตีความหรืออธิบายความอันมีความสอดคล้องกับปรัชญาและศาสนาทางตะวันออก
ได้แก่พุทธ ฮินดู เชน เตา ขงจื้อ ทั้งในเรื่องความว่างและรูปลักษณ์
ความมีตัวคนและไม่มีตัวคน ความแตกต่างของสองสิ่งในสิ่งอันเดียวกัน
ดังนั้น ชาวตะวันออก เช่น คนไทย ควรหมั่นศึกษา หาความรู้
และสนใจปฏิบัติตามธรรมะของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัดโดยไม่ต้องสงสัยต่อไป